ยินดีที่แวะมาเยี่ยม web blog ทักษะการจัดการความรู้ (KM) ทักษะการเรียนรู้ที่สำคัญและจำเป็นสำหรับผู้เรียนศตวรรษที่ 21 วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ขอบคุณคุณครูชาญวิทย์ ปรีชาพาณิชพัฒนา และเพื่อนๆ ที่แนะนำให้คำปรึกษา

วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2558

สัปดาห์ที่ 20 วีธีการทางประวัติศาตร์และหลักฐานทางประวัติศาสตร์

วีธีการทางประวัติศาตร์และหลักฐานทางประวัติศาสตร์

        วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสีบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง จากร่องรอยของคนในอดีตได้ทำไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่หลงเชื่อคำพูดของใครคนใดคนหนึ่ง หรืออ่านหนังสือเพียงเริ่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทำเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้วคือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดละออ ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐานทุกชนิดด้วยจิตสำนึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้จากนั้นนำเสนอผลที่ศึกษาได้พร้องอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้

สัปดาห์ที่ 19 วิธีการทางประวัติศาสตร์


        หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง จากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทำไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่หลงเชื่อคำพูดของใครคนใดคนหนึ่ง หรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทำเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสำนึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนำเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
        คนเราจะเดินหน้าต่อไปได้ยังไงครับ ถ้าไม่รู้อดีตของตัวเอง ของบรรพบุรุษ ของประเทศ อย่างเช่น การเสียกรุง ครั้งที่ หนึ่ง กับสอง เพราะคนไทยเเตกเเยกกันเองนะครับ ผู้นำก็ไม่เข้มเเข็ง  การศึกษาปประวัติศาสตร์ ไม่ใช่เเค่ช่วยการศึกษานะครับ เเต่ยังช่วยให้มองเห็นการผิดพลาด ของบรรพพบุรุษในอดีต เเละ การที่บรรพบุรุษรักกษาเอกราชด้วยการเสียชีวิตตัวเองนั้น ก็เพื่อให้พวกเราเรียกตัวเองไเด้ ว่าเราเป็นคนไทย 

        ประวัติศาสตร์ไม่ได้มีคุณค่าเเค่การศึกษานะครับ มีคุณค่า ต่อการที่เราจะเดินหน้าต่อไปได้อย่างไร เเละมีคุณค่าต่อความเป็นคนไทยครับ มีค่าต่อการศึกษาในเเง่เราได้ศึกษา การเมืองในสมัยนั้น การค้าขาย การพฒนาสังคม วิถีชุมชนในอดีต การวิเคราะห์เหตการณ์ต่างๆๆ เเล้วนำมาเปรียบเทียบกับปัจจุบันเพพื่อวางเเผนป้องกันไม่ให้เกิดผิดพลาดอีก 

        หลายๆคนอาจพูดว่า อย่าไปสนใจอดีตเลย ผ่านไปปเเล้ว เเต่เค้าเหล่านั้นคิดเเบบไร้สติครับ คนเราต้องเรียนรู้จากอดีต เพื่อหาหนทาง ปป้องกันวางเเผน ในปัจจุบันเเละอนาคต

สัปดาห์ที่ 18 การวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์

   คือการวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่งนักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง 

        ความสำคัญนั้นเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ หรือผู้ที่จะเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะได้นำไปใช้ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลำเอียง และเกิดความน่าเชื่อถือได้มากที่สุด

        1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
           1.1 หลักฐานชั้นต้น
           1.2 หลักฐานชั้นรอง

        2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด
           2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
           2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

        3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต
           3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น
           3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง

1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
        1.1 หลักฐานชั้นต้น primary sources
       หมายถึง คำบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ได้แก่ บันทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึก รวมถึงสิ่งก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถาน โบราณวัตถุ เช่น โบสถ์ เจดีย์ วิหาร พระพุทธรูป รูปปั้น หม้อ ไห ฯลฯ                                                                                      
        1.2 หลักฐานชั้นรอง secondary sources                       
        หมายถึง ผลงานที่เขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นแล้ว โดยอาศัยคำบอกเล่า หรือจากหลักฐานชั้นต้นต่างๆ ได้แก่ ตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด

        2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร written sources
   หมายถึง หลักฐานที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร รวมถึงการบันทึกไว้ตามสิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนที่ หลักฐานประเภทนี้จัดว่าเป็นหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์
        2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
   หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งหมดที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ สิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปการแสดง คำบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จิตรกรรม ฯลฯ

3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต

        3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น artiface
หลักฐานที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต
        3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง

สัปดาห์ที่ 17 ประโยชน์ของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์

ประโยชน์ของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์


        แม้ว่างานวิจัยทางด้านประวัติศาสตร์จะเป็นเพียงข้อเท็จจริงส่วนหนึ่งของอดีตก็ตาม ย่อมจะส่งผลมาถึงเหตุการณ์ในปัจจุบัน และอาจมีอิทธิพลไปถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคตได้ ดังนั้นการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์จึงมีประโยชน์สำคัญดังนี้
        8.1 ทำให้เราทราบสภาพของปัญหาที่เกิดขึ้นในอดีต และเมื่อพบปัญหาที่จะเกิดขึ้นในสภาพเดียวกันนี้เกิดขึ้นอีก
        8.2 ผลการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์สามารถนำมาใช้แก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ ในปัจจุบันได้ ทั้งนี้เพราะการวิจัยนี้จะพบว่ามีปัจจัยใดบ้างที่เป็นจุดบกพร่อง ซึ่งสามารถนำมาแก้ไขข้อบกพร่องของงานในปัจจุบันได้
        8.3 เนื่องจากความเป็นมาในอดีตเป็นรากฐานของความเป็นอยู่และความเป็นไปในปัจจุบันและส่งผลต่อไปในอนาคตด้วย ดังนั้นการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์จึงใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบันได้
        8.4 เพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการปฏิบัติงานในปัจจุบัน และเป็นพื้นฐานแก่ผู้ที่จะทำการศึกษาค้นคว้าต่อไป

วันเสาร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2558

สัปดาห์ที่ 16 องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ

องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ
องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ            การจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศอาจจำแนกออกเป็นสองระดับหลัก  คือองค์การระหว่างประเทศระดับโลก  และระดับภูมิภาค  ซึ่งทั้งสองระดับล้วนเป็นองค์การเพื่อประสานประโยชนืร่วมกันระหว่างประเทศปัจจุบัน  ดังนี้
 1.องค์การสหประชาชาติ(The United Nations:UN)สถาปนาอย่างเป็นทางการ  เมื่อวันที่ 24  ตุลาคม พ.ศ. 2488 หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง  มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงนิวยอร์กประเทศสหรัฐอเมริกา  มีประเทศเอกราชทุกภูมิภาคเป็นสมาชิกไม่ต่ำกว่า  190 ประเทศในปัจจุบัน  
1.1  เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
1.2  เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันท์มิตรระหว่างประชาชาติ โดยยึดการเคารพต่อหลักการแห่งสิทธิอันเท่าเทียมกัน
1.3  เพื่อให้บรรลุถึงความร่วมมือระหว่างประเทศ  ในอันที่จะแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศทางด้าน  เศษฐกิจ  สังคม และมนุษยธรรมและการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพต่อสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานสำหรับทุกคน โดยไม่เลือกปฎิบัติในเรื่องเชื้อชาติ    ศาสนา  เพศ  หรือภาษา
1.4  เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานของประชาชาติทั้งหลายให้กลมกลืนกัน  ในอันที่จะบรรลุจุดหมานปลายทางร่วมกัน 
 เช่น   การรักษาสันติภาพ  ส่งเสริมประชาธิปไตย  ส่งเสริมด้านมนุษย์ชน  พัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้าระดับโลก  ให้ความคุ้มครองด้านทรัพย์สินทางปัญญา  เป็นต้น
2.สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(Association  of  Southeast  Asian  Nation:  ASEAN)หรืออาเซียน
ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2510  โดยมีสมาชิกเริ่มแรก  5 ประเทศ  คือ   ไทย อินโดนีเซีย  มาเลเซีย  ฟิลิปปินส์  และสิงคโปร์   ในปัจุบันได้สมาชิกเพิ่มได้แก่  บรูไน เวียดนาม  ลาว  และกัมพูชา
โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อเร่งรัดความเจริญเติบโตทางเศษฐกิจ  ความก้าวหน้าทางสังคม  วัฒนธรรมของภูมิภาค   ส่งเสริมสันติภาพ  และเสถียรภาพของภูมิภาคตามหลักของสหประชาชาติ  ส่งเสริม  ร่วมมือและช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องผลประโยชน์ทาเศษฐกิจ  สังคม  วัฒนธรรม วิชาการ  การบริหารอย่างจริงจัง
3.เขตการค้าเสรีอาเซียน(Asean  free  trade  area: AFTA)
เขตการค้าเสรีอาเซียน หรืออาฟตา เป็นการร่วมมือทางเศษฐกิจที่ทำให้การค้าขายในกลุ่มอาเซียนขยายตัว เป็นความคิดริเริ่มที่มาจากอดีตนายกรัฐมนตรีไทย   คือ นายอานันท์ ปันยาชุน    ที่เสนอต่อที่ประชุมอาเซียน  ณ  ประเทศสิงคโปร์    
โดยมีวัตถุประสงค์  เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนเป็นไปโดยเร็ว  อัตรภาษีต่ำที่สุด และเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติสู่ภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การค้าโลกที่เป็นระบบเสรียิ่งขึ้น  ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเศษฐกิจของไทยอย่างจริงจัง ระบบการค้าเสรี  เป็นลักษณะทวิภาคี  ระหว่างประเทศไทยกับประเทศในเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ออสเตรเลีย  และนิวซีแลนด์เป็นต้น
4.ความร่วมมือทางเศษฐกิจเอเชียแปซิฟิก หรือเอเปก(Asia-pacific economic cooperation:APEC)
ก่อตั้งใน  พ.ศ. 2532 ตามข้อเสนอของนายบ็อบฮอร์ก  อดีตนายกรัฐมนตรีประเทศออสเตรเลีย โดยกลุ่มเอเปกเป็นกลุ่มเศษฐกิจที่มีประชากรรวมกันมากที่สุดกว่า 2,000  ล้านคน ครอลคลุม สามทวีป  คือ  เอเชีย อเมริกา และออสเตรเลีย มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ประเทศ
สิงคโปร   มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศษฐกิจของภูมิภาคเอเชียและของโลก  โดยต้องการพัฒนาส่งเสริมระบบการค้าพหุภาคีที่อยู่บนรากฐานของการเปิดการค้าเสรี  การลงทุน และหาทางลดอุปสรรคทางการค้า  โดยยึดหลักผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งไทยเคยเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมในปี พ.ศ.  2546 


สัปดาห์ที่ 15 ความขัดแย้งระหว่างประเทศครั้งสำคัญในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เรื่องสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเย็น

ความขัดแย้งระหว่างประเทศมหาอำนาจตะวันตกในการแข่งขันแสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบกับการขยายตัวของลัทธิชาตินิยมในยุโรปที่รุนแรงมากขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งมีผลสืบเนื่องถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเย็นตามลำดับ
สงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914 – 1918)
สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในยุโรปและขยายเป็นสงครามโลก เนื่องจากมีประเทศในทวีปอื่น เช่น อเมริกาเหนือ และเอเชียเข้าร่วมในสงครามนี้
สาเหตุสงครามโลกครั้งที่ 1 การขยายตัวของลัทธิชาตินิยม การขยายลัทธิจักรวรรดินิยม การพัฒนาระบบพันธมิตรของประเทศยุโรปและการเติบโตของลัทธิทหารนิยม เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1
การขยายตัวของลัทธิชาตินิยม ลัทธิชาตินิยมในยุโรปขยายตัวอย่างรวดเร็วในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะในแหลมบอลข่านที่ต้องการปกครองตนเองและเป็นอิสระจากอำนาจของจักรวรรดิออสเตรีย – ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน ประเทศที่ส่งเสริมกลุ่มชาตินิยมในแหลมบอลข่าน คือ เซอร์เบีย (Serbia)
การขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยม การแข่งขันขยายลัทธิจักรวรรดินิยมของมหาอำนาจยุโรปในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศเหล่านั้นจนทำให้มีการแบ่งขั้วอำนาจที่ปรากฏในระบบพันธมิตรของยุโรป
ระบบพันธมิตรของยุโรป ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ปรัสเซีย (Prussia) ได้พัฒนาเป็นจักรวรรดิเยอรมนีและผนึกกำลังชาติพันธมิตรเพื่อโดดเดี่ยวฝรั่งเศสซึ่งเป็นศัตรูและคู่แข่งสำคัญในการขยายลัทธิจักรวรรดินิยม ต่อมาได้เกิดระบบพันธมิตรของยุโรป คือกลุ่มไตรพันธมิตร (Triple Alliance) หรือกลุ่มมหาอำนาจกลาง ประกอบด้วย เยอรมณีและออสเตรีย – ฮังการี และกลุ่มไตรภาคี (Triple Entente) หรือฝ่ายสัมพันธมิตร ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศสและรัสเซีย การแบ่งขั้วอำนาจในยุโรปทำให้แต่ละประเทศกล้าเผชิญหน้ากันเพราะต่างก็มีพันธมิตรหนุนหลัง
556
การเติบโตของลัทธิทหารนิยม ผู้นำประเทศในยุโรปต่างเชื่อว่าการสร้างจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่จะต้องใช้กำลังทหารสนับสนุนและทำสงครามขยายอำนาจ เช่น ปรัสเซียใช้วิธีการทำสงครามเพื่อขยายดินแดนฝรั่งเศส และเดนมาร์ก ส่วนอิตาลีก็ใช้กำลังสงครามรุกรานอบิสซิเนีย ดังนั้นรัฐบาลต่างๆ จึงให้ความสำคัญกับการพัฒนากองทัพและอาวุธยุทโธปกรณ์ อนึ่ง ความเข้มแข็งทางการทหารและการสนับสนุนจากกองทัพได้ทำให้ประเทศเหล่านั้นยินดีเข้าสู่สงคราม
ชนวนสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปลายเดือนกรกฎาคม ค.ศ 1914 กลุ่มชาตินิยมชาวเซิร์บ (Serb) ซึ่งต้องการปลดแอกจากจักรวรรดิออสเตรีย – ฮังการีได้ลอบสังหารมกุฎราชกุมารฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ (Archduke Franz Ferdinand) แห่งออสเตรีย ขณะเสด็จเยือนประเทศเซอร์เบีย ออสเตรีย – ฮังการียื่นคำขาดให้เซอร์เบียรับผิดชอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แต่เซอร์เบียไม่สามารถจับกุมคนร้ายได้ อีกไม่กี่วันต่อมา ออสเตรีย – ฮังการีซึ่งได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนีจึงประกาศสงครามต่อเซอร์เบีย รัสเซียได้เข้าช่วยเซอร์รบ อังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งเป็นพันธมิตรของรัสเซียจึงเข้าร่วมรบด้วยเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร ในปีต่อมาอิตาลีก็เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร แม้จะเคยร่วมกลุ่มไตรพันธมิตรกับออสเตรีย-ฮังการีและเยอรมนีมาก่อนก็ตาม ส่วนฝ่ายมหาอำนาจกลางก็มีจักรวรรดิออตโตมันเข้าร่วมกับออสเตรีย-ฮังการีและเยอรมนี ทำให้สงครามขยายไปทั่วยุโรป เอเชียและแปซิฟิก ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 เกิดปฏิวัติในประเทศรัสเซีย และมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบโซเวียตภายใต้อุดมการณ์สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ความวุ่นวายทางการเมืองภายในประเทศทำให้รัสเซียถอนตัวจากสงคราม อย่างไรก็ตามสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ขยายวงออกไปอีก เพราะอีก 2 เดือนต่อมาสหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วใกับฝ่ายพันธมิตร สงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลงในปลาย ค.ศ. 1918 โดยฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะ
586
ผลกระทบของสงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามโลกครั้งที่ 1 ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างกว้างขวางทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
ด้านการเมือง สงครามทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสำคัญในยุโรป เพราะทำให้จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีล่มสลาย มีประเทศเกิดใหม่ในยุโรปตะวันออก แถบทะเลบอลติกและแหลมบอลข่าน เช่น ฮังการี เชคโกสโลวาเกีย โรมาเนีย บุลแกเรีย ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย ฯลฯ พร้อมกันนั้นยังมีความพยายามก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) เพื่อป้องกันสงครามและรักษาสันติภาพด้วย
ด้านเศรษฐกิจ สงครามทำให้ประเทศต่างๆ ประสบหายนะทางเศรษฐกิจ และจำเป็นต้องเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจอย่างรีบด่วน โดยเฉพาะการผลิตสินค้าส่งออก แต่เนื่องจากประเทศส่วนใหญ่ขาดกำลังซื้อ จึงทำให้สินค้าขายไม่ออกและส่งผลให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำที่ลุกลามไปทั่วโลก
ด้านสังคม สงครามทำให้ผู้คนเสียชีวิตและพิการมากกว่า 8 ล้านคน ประเทศต่างๆ ต้องเร่งฟื้นฟูสังคม นอกจากนี้ยังทำให้ลัทธิชาตินิยมขยายตัวอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในประเทศญี่ปุ่นที่เป็นผู้แพ้สงคราม เช่น เยอรมนีซึ่งต่อมาได้ก่อสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อแก้แค้นฝ่ายสัมพันธมิตร
สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945)
สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผลกระทบที่สืบเนื่่องจากสงครมโลกครั้งที่ 1 โดยเยอรมนีเป็นผู้เริ่มสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ขยายสนามรบออกไปนอกยุโรปคือ แอฟริกา เอเชียและแปซิฟิก เป็นสงครามที่มีการประหัตประหารและทำลายล้างกันรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 เยอรมนีส่งกองทัพบุกโปแลนด์ ดังนั้นอังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศสงครามต่อเยอรมนี นับเป็นการเริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ประกอบด้วยฝ่ายพันธมิตร (Allied Nations) ซึ่งมีอังกฤษ ฝรั่งเศสและสหภาพโซเวียตเป็นแกนนำ และฝ่ายอักษะ (Axis ซึ่งมีเยอรมนีและอิตาลีเป็นแกนนำ ต่อมาญี่ปุ่นได้เข้าร่วมกับฝ่ายอักษะและเริ่มต้นสงครามมหาเอเชียบูรพาด้วยการโจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล (Pearl Harbor) และยึดครองเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ทำให้สหรัฐอเมริกาประกาศสงครามต่อญี่ปุ่นและเข้าร่วมสงครามกกับฝ่ายพันธมิตร สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1945 โดยฝ่ายพันธมิตรได้รับชัยชนะ
564
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 สามารถวิเคราห์ได้จากทั้งฝ่ายอักษะและฝ่ายพันธมิตร ดังนี้
ฝ่ายอักษะ ลัทธิจักรวรรดินิยมผสมผสานกับลัทธิชาตินิยมเป็นสาเหตุสำคัญที่ส่งเสริมให้เยอรมนี อิตาลีและญี่ปุ่นทำสงครามขยายอำนาจครอบครองดินแดนโพ้นทะเลและทรัพยากรอันมั่งคั่ง อนึ่ง การที่ประเทศเหล่านี้มีแนวทางที่คล้ายคลึงกันคือ ต่างสนับสนุนลัทธิจทหารนิยมและการปกครองแบบเผด็จการเบ็ดเสร็จ ก็ทำให้สามารถรวมกลุ่มเป็นพันธมิตรกัน รวมทั้งมีความมั่นใจในการก่อสงคราม
ฝ่ายพันธมิตร ปลายทศวรรษ 1930 เยอรมนีขยายอำนาจคุกคามดินแดนใกล้เคียง เช่น การผนวกแคว้นสุเดเตน (Sudeten) ของเชคโกสโลวาเกีย แต่ฝ่ายพันธมิตรกลับดำเนิน “นโยบายเอาใจ” (Appeasement Policy) โดยไม่มีปฏิกิริยาต่อต้าน เนื่องจากยังไม่ต้องการทำสงครามกับเยอรมนี จึงทำให้เยอรมนีได้ใจและบุกโปแลนด์ต่อไป จนนำไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2
ผลกระทบของสงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายพื้นที่สงครามครอบคลุมทวีป ทำให้เกิผลกระทบมากกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1 ทุกด้าน
ด้านการเมือง สงครามโลกครั้งที่ 2 ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของโลกที่สำคัญคือ ดินแดนอาณานิคมได้รับเอกราช มีประเทศเกิดใหม่ในเอเชียและแอฟริกาจำนวนมาก อำนาจของยุโรปเสื่อมลงจึงต้องผนึกกำลังเป็นสหภาพยุโรป (European Union) ในปัจจุบัน สหรัฐอเมริกาซึ่งช่วยกอบกู้สถานการณ์สงครามและนำชัยชนะให้กับฝ่ายพันธมิตรได้ขึ้นมาเป็นผู้นำโลก สหรัฐอเมริกาเข้าไปจัดระเบียบโลก และสร้างกฎเกณฑ์ต่างๆ ขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเฉพาะการนำประชาคมโลกเข้าสู่ยุคสงครามเย็นที่ส่งผลต่อชะตากรรมของมนุษยชาติในโลกปัจจุบัน
ด้านเศรษฐกิจ ความเสียหายทางเศรษฐกิจจากสงครามโลกครั้งที่ 2 มีมูลค่าที่ไม่อาจประเมินได้ ประเทศส่วนใหญ่ซึ่งรวมทั้งประเทศในยุโรปต้องเผชิญปัญหาเศรษฐกิจนานนับ 10 ปีจึงฟื้นตัวได้ ทำให้มีการก่อตั้งองค์การทางการเงินระหว่างประเทศเพื่อช่วยบูรณะฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เช่น ธนาคารโลก และ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ (International MonetaryFund = IMF)
ด้านสังคม สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำลายล้างชีวิตผู้คนจำนวนมหาศาล มีผู้บาดเจ็บล้มตายในสงครามโลกครั้งที่ 2 มากกว่า 20 ล้านคน ทั้งยังทำให้เกิดการพลัดพรากในครอบครัว อนึ่ง สงครามโลกครั้งที่นี้ยังส่งผลกระทบต่อจริยธรรมและศีลธรรมของผู้คนในสังคมอย่างมาก เนื่องจากการมีการประหัตประหารกันอย่างโหดร้ายทารุณ และการใช้อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างรุนแรงต่อมนุษยชาติ เช่น การที่สหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณูญี่ปุ่นที่เมืองฮิโรชิมา (Hiroshima) วันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1945 และที่เมืองนางาซากิ (Nagasaki) ในอีก 3 วันต่อมา ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตทันทีมากกว่า 1 แสนคน055
สภาพเมืองฮิโรชิมา หลังจากสหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณู
056


อนุภาคของระเบิดปรมาณูที่เมืองนางาซากิ ประเทศญี่ปุ่น
สงครามเย็น
สงครามเย็น (Cold War) เป็นศัพท์ใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 หมายถึง ภาวะตึงเครียดระหว่างกลุ่มประเทศ 2 กลุ่ม ซึ่งต่างฝ่ายต่างก็ใช้วิธีการต่างๆ ในการต่อสู้ ยกเว้นการเผชิญหน้า จึงหวั่นเกรงกันว่าความตึงเครียดในสงครามเย็นอาจจะนำไปสู่ภาวะสงครามร้อนได้ และกลายเป็นสงครามโลกอีกครั้งหนึ่ง
ความขัดแย้งในสงครามเย็นปรากฏเด่นชัดใน ค.ศ. 1947 เมื่อประธานาธิบดีแฮร์รี ทรูแมน (Harry S. Truman) แห่งสหรัฐอเมริกาประกาศหลักการทรูแมน (Truman Doctrine) ซึ่งเป็นการประกาศต่อต้านการแทรกแซงใดๆ ต่อรัฐบาลที่ชอบธรรมในประเทศต่างๆ โดยเฉพาะยุโรปตะวันออก กรีซ ตุรกีและอิหร่านซึ่งกำลังเกิดความวุ่นวายภายในประเทศ เนื่องจากกลุ่มต่างๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากพรรคคอมมิวนิสต์ทำการจลาจลต่อต้านรัฐบาลของตน
058
สาเหตุของสงครามเย็น สงครามเย็นมีรากฐานมาจากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศเสรีนิยมที่นำโดยสหรัฐอเมริกาและประเทศยุโรปตะวันตกกับสหภาพโซเวียต ซึ่งเป็นผู้นำของกลุ่มสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ความขัดแย้งของชาติมหาอำนาจดังกล่าวเกิดขึ้นมาตั้งแต่อดีตและขยายเป็นสงครามเย็นในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเฉพาะเมื่อพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศต่างๆ เติบโตและส่งผลให้โลกถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายโลกเสรีกับฝ่ายสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
วิกฤตการ์ณในสงครามเย็น หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เกิดวิกฤตต่างๆ อันเนื่องมาจากความขัดแย้งและการเผชิญหน้าระหว่างฝ่ายโลกเสรีกับฝ่ายสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ซึ่งสร้างความตึงเครียดและหวาดวิตกต่อประชาคมโลก ด้วยเกรงว่าเหตุวิกฤตนั้นจะนำไปสู่สงครามโลกครั้งใหม่ วิกฤตในสงครามเย็นที่สำคัญ เช่น
การปิดล้อมกรุงเบอร์ลิน ค.ศ. 1948 – 1949 เป็นการปิดล้อมเบอร์ลินตะวันตกโดยฝ่ายเยอรมนีตะวันออกเพื่อกดดันเยอรมนีตะวันตก
การจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือองค์การนาโต (North Atlantic Treaty Organization = NATO) ค.ศ. 1949 เป็นการรวมกลุ่มทางทหารนำโดยสหรัฐอเมริกาและกลุ่มพันธมิตรในเขตมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ
106230969
สงครามเกาหลี ค.ศ. 1950 – 1953 เป็นสงครามระหว่างเกาหลีเหนือกับเกาหลีใต้ซึ่งมีสหรัฐอเมริกาและกำลังอาสาสมัครของประเทศสมาชิกสหประชาติเข้าไปช่วยทำสงครามในเกาหลีใต้
korea15การรวมกลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) ค.ศ. 1955 เป็นการรวมกลุ่มทางทหารระหว่างสหภาพโซเวียตและประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกเพื่อตอบโต้องค์การนาโต
สงครามเวียดนาม ค.ศ. 1960 – 1975 เป็นสงครามระหว่างเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ที่สหรัฐอเมริกาส่งทหารเข้าไปรบกับพวกคอมมิวนิสต์เวียดนามซึ่งยึดเวียดนามเหนือ
105244วิกฤตการณ์ขีปนาวุธที่คิวบา ค.ศ. 1962 เป็นเหตุการณ์ที่สหภาพโซเวียตพยายามนำขีปนาวุธไปติดตั้งที่คิวบาซึ่งเป็นประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ในลาตินอเมริกา สหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นการคุกคามต่อสหรัฐอเมริกาและทวีปอเมริกาโดยตรง จึงประกาศจะตอบโต้อย่างรุนแรง โซเวียตจึงยินยอมถอนขีปนาวุธกลับไป เพราะไม่ต้องการทำสงครามนิวเคลียร์กับสหรัฐอเมริกา
การผ่อนคลายและการสิ้นสุดขอสงครามเย็น การผ่อนคลายของสงครามเย็น (Detente) เริ่มตั้งแต่ทศวรรษ 1970 เมื่อกลุ่มประเทศประชาธิปไตยและสังคมนิยมคอมมิวนิสต์เริ่มหันหน้าเข้าหากัน เพื่อผ่อนคลายภาวะตึงเครียดของสงครามเย็นเนื่องจากต่างตระหนักว่า ไม่อาจปล่อยให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างชาติมหาอำนาจรุนแรงเพิ่มมากขึ้นต่อไป เพราะจะนำไปสู่จุดแตกหักที่ส่งผลต่อสันติภาพของโลกได้ เหตุการณ์สำคัญที่นำไปสู่การผ่อนคลายและการสิ้นสุดของสงครามเย็นได้แก่
การปรับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกากีบจีนคอมมิวนิสต์ ค.ศ. 1972 โดยประธานาธิบดี ริชาร์ด นิกสัน (Richard Nixon) ของสหรัฐอเมริกา เดินทางไปเยือนปักกิ่ง ส่งผลให้สหรัฐอเมริกาค่อยๆ ถอนทหารออกจากเวียดนาม และทำให้สงครามเวียดนามยุติลง
53ประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสัน ของสหรัฐอเมริกาเดินทางไปเยือน
และเข้าพบ เหมา เจ๋อตง ประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน ค.ศ. 1972
การประชุมสุดยอดเบรซเนฟ – นิกสัน (Brezhnev’ – Nixon Summit 1972) ระหว่างนายกรัฐมนตรีเบรซเนฟของสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีนิกสันส่งผลให้มีการลงนามในสนธิสัญญาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์ 2 ครั้ง (Strategic Arms Limitation Talks = SALT) ใน ค.ศ. 1972 และค.ศ. 1979
นโยบายเปเรสทอยกาและกลาสนอส (Perestoika – Glasnos ค.ศ. 1985) เริ่มในสมัยของนายกรัฐมนตรีกอร์บาชอพ (Gorbachev) แห่งสหภาพโซเวียต ซึ่งประกาศปฏิรูปประเทศตามแนวทางประชาธิปไตยและเปิดกว้างทางเศรษฐกิจ เป็นผลให้มีการผ่อนคลายความเข้มงวดของระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์โซเวียต ทำให้ประเทศในยุโรปตะวันออกมีอิสระในการกำหนดระบอบปกครองของตนเอง ซึ่งส่วนใหญ่เลือกวิถีทางเสรีประชาธิปไตย
การทำลายกำแพงเบอร์ลินและการรวมเยอรมนี ค.ศ. 1989 เยอรมนีตะวันตกและเยอรมนีตะวันออกได้รวมประเทศทำให้การเผชิญหน้าอันยาวนานระหว่างยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออกยุติลง
ระบอบสหภาพโซเวียตล่มสลาย ค.ศ. 1991 ถือว่าเป็นการยุติสงครามเย็นที่ยาวนานและตึงเครียดหลังจากนั้นรัฐต่างๆ ที่เคยอยู่ภายใต้ระบอบสหภาพโซเวียตก็แยกเป็นรัฐอิสระ ส่วนศูนย์ฏกางการปกครองสหภาพโซเวียตเดิมก็คือประเทศรัสเซียในปัจจุบัน
เหตุการณ์ความขัดแย้งของมนุษยชาติในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่กล่าวมาข้างต้น มีความรุนแรงก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างมหาศาลต่อประชาคมโลก ทั้งยังมีผลกระทบสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน เหตุการณ์เหล่านี้เป็นบทเรียนจากประวัติศาสตร์ที่ควรแก่การศึกษาและเผยแพร่เพื่อให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึงผลที่เกิดขึ้นต่อสังคมและมนุษยชาติในปัจจุบัน

สัปดาห์ที่ 14 ความขัดแย้งระหว่างประเทศครั้งสำคัญในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เรื่องสงครามโลกครั้งที่ 1 และสงครามโลกครั้งที่ 2

  • 1.  เริ่มขึน้เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ.1914 และสิน้สุดลงเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1918 เป็นเวลายาวนานถึง 4 ปี 3 เดือน  สงครามนีเ้กิดจากความขัดแย้งของประเทศในยุโรป และลุกลามไปยังประเทศ ต่างๆทวั่โลกกว่า 30 ประเทศ จึงทาให้มีผู้เรียกสงครามนีว้่า มหาสงคราม (Great War)
  • 2. 1. ลัทธิชาตินิยม ( nationalism )  เกิดจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ในช่วง ค.ศ.1870-1871ทางฝ่ายปรัสเซียมีผู้นาที่ เข้มแข็งมากอย่าง บิสมาร์ก ซึ่งสามารถเอาชนะ ฝรั่งเศส และรวมไปถึงเดนมาร์ก และออสเตรีย ปรัสเซียจึงเป็นผู้นาในการรวมรัฐเยอรมันเข้า ด้วยกันอีกครัง้ และสถาปนาจักรวรรดิเยอรมัน เป็นชาติที่สาคัญในยุโรป Bismarck
  • 3.  จากการพ่ายแพ้สงครามของฝรั่งเศส จึงต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอร์เรน ให้แก่ เยอรมนี และยังเป็นผลให้จักรวรรดิของฝรั่งเศสต้องสิน้สุดไป เกิดลัทธิชาตินิยมใน หมู่ชาวฝรั่งเศส รวมไปถึง ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลีที่มีการรวมชาติหลังจบสงคราม ฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ชาวสลาฟในคาบสมุทรบอลข่าน
  • 4. 2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม  ในระยะปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในยุโรปมีการแข่งขันด้านการค้าเสรี(free trade) สูงมาก มีการใช้กาลังทหารยึดดินแดนที่มีแหล่งทรัพยากรที่ต้องการ มีการตัง้ภาษี ให้สูงขึน้เพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศคู่แข่งเข้ามาทาการค้าในประเทศบริวารของตน นอกจากนีเ้ยอรมนีและอังกฤษยังแข่งขันกันในด้านอุตสาหกรรมหนัก อุตสาหรรม เคมีและไฟฟ้า
  • 5. ซึ่งการแสวงหาอาณานิคมเจริญถึงที่สุดในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทาให้ ทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกาตกเป็นอาณานิคมของชาวยุโรปเกือบทัง้หมด แบ่งเป็น  ดินแดนในแอฟริกาตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ฝรั่งเศส ดัตช์ (เนเธอร์แลนด์) เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม และโปรตุเกส  ทวีปเอเชียอังกฤษครอบครองอินเดีย พม่า มลายู บอร์เนียว ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์  ฝรั่งเศสครอบครองลาว เขมร ญวน รวมเป็นอินโดจีนฝรั่งเศส  ตะวันออกกลางเป็นดินแดนแข่งขันอิทธิพลระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และ ตุรกี การแข่งขันกันทางด้านนีจึ้งทาให้การมีอาณานิคมเป็นเครื่องมือความยิ่งใหญ่ ของ ชาติ ชาวยุโรปจึงได้มีการตกลงแบ่งเขตอิทธิพลในที่ต่างๆ เพื่อไม่ให้มีปัญหาขัดแย้งกัน ภายหลัง
  • 6. 3. มหาอานาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย แบ่งเป็น  เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี(เป็นจักรวรรดิที่มี ระบอบการปกครองแบบควบคู่) และอิตาลี ได้ ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances)  ฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ เกิดเป็นกลุ่ม ประเทศความตกลงไตรภาคี (Triple Entente) มหาอานาจทัง้ 2 กลุ่มมีการโน้มน้าวประเทศ อื่นๆมาเป็นพันธมิตร เมื่อเกิดข้อขัดแย้งต่างๆ ประเทศในกลุ่มพันธมิตรก็จะมาช่วยกันในการ ทาสงคราม
  • 7. 4. ความไม่มนั่คงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน การเกิดลัทธิชาตินิยมนัน้ทาให้ชาวสลาฟ กรีก และเติร์ก ที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบเมดิ เตอร์เรเนียนและทะเลดา ที่เรียกว่าคาบสมุทรบอลข่านนัน้ เกิดการรวมกาลังเพื่อจะตัง้ชาติใหม่ แต่ละชุมชนมีความต่างในด้านภาษา วัฒนธรรม ศาสนา จึงทาได้ไม่ง่ายนัก และปัญหาที่สาคัญ ก็คือ ประเทศใหญ่ๆ ที่มีพรมแดนชิดกับคาบสมุทรบอลข่านนัน้ไม่ต้องการให้เกิดการรวมชาตินีขึ้น้ กล่าวคือ  ออสเตรีย-ฮังการี ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนีให้รักษาคาบสมุทรบอลข่านไว้เป็นตลาดการค้า และเขตอิทธิพลเมือง  อิตาลี ไม่ต้องการให้ออสเตรีย-ฮังการี ขยายเขตอิทธิพลให้กว้างออกไปอีก  รัสเซีย พยายามหาทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยผ่านดินแดนนี้  อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะมหาอานาจไม่ต้องการให้ทัง้รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ขยาย อิทธิพลไปมากกว่าที่เป็นอยู่ในเวลานัน้
  • 8. เมื่อชนเผ่าสลาฟภายใต้การนาของแคว้นเซอร์เบีย ซึงเป็นรัฐเล็กๆที่แยกตัวออกมา ได้มีความคิดจะรวมชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ในออสเตรีย-ฮังการี เข้าด้วยกัน จึงรวมตัวกับ บัลแกเรียและกรีซ โดยได้รับแรงสนับสนุนจากรัสเซีย ทาสงครามกับตุรกีในยุโรป และ ได้รับชัยชนะ แต่หลังสงครามก็มีปัญหาในเรื่องการแบ่งแยกดินแดน จึงเกิดสงครามกัน ระหว่างบัลแกเรีย – เซอร์เบีย กรีซ ผลของสงครามบัลแกเรียต้องเสียดินแดนบางส่วน ทา ให้เซอร์เบียเป็นแคว้นทีมีอิธิพลมากที่สุดในกลุ่มชาวสลาฟ
  • 9. ชนวนของสงครามนีเ้กิดขึน้เมื่อ Archduke Francis Ferdinand รัชทายาทของ ออสเตรีย-ฮังการีและพระชายาถูกลอบปลงพระชนม์ โดย Gavrilo Principชาวบอสเนียซึ่ง มีเชือ้สายเซอร์เบีย เหตุเพราะโกรธแค้นที่จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีเข้ายึดครองบอสเนีย และขัด ขวางการรวมตัวของชาวสลาฟกับเซอร์เบีย Archduke And His Queen กัฟริโล ปรินซีป ถูกจับกุมทันที หลังลอบปลงพระชนม์
  • 10.  ออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามกับเซอร์เบียในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ.1914 เยอรมนีได้เข้ามาช่วยออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียก็เข้ามาช่วยเซอร์เบีย อังกฤษและฝรั่งเศสก็ ได้เข้ามาช่วยจากการทาพันธะสัญญากับรัสเซีย  ในสงครามนีเ้รียกฝ่ายที่อยู่ข้างเซอร์เบีย รัสเซีย อังกฤษและฝรั่งเศสว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร (Allied Powers)
  • 11.  ฝั่งที่อยู่ข้างออสเตรีย-ฮังการี และเยอรมนีว่า ฝ่ายมหาอานาจกลาง (Central Powers)  ในตอนแรกอิตาลีประกาศตนเป็นกลาง แต่สุดท้ายก็เข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตร สงครามนีไ้ด้ ขยายออกไปนอกยุโรปด้วย ทาให้ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร
  • 12.  แนวรบด้านตะวันตก กองทัพเยอรมันได้ฝ่าดินแดนของประเทศเบลเยียมตามแผนชลีฟ เฟิน(แผนการรบของ เยอรมนีด้วยวิธีการรบรุกอบ่างรวดเร็ว) เพื่อโจมตีฝรั่งเศส แต่ฝ่าย สัมพันธมิตรก็ต้านไว้ได้ ทัง้ 2 ฝ่ายได้ตัง้ยันทัพกันเป็นเวลา 3 ปี  แนวรบด้านตะวันออก รัสเซียส่งกองทัพเข้าตีเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี ในระยะแรก กองทัพรัสเซียเป็นฝ่ายชนะ แต่ภายหลังกองทัพรัสเซียก็ตกเป็นฝ่ายพ่ายแพ้กองทัพ เยอรมันเข้ายึดเมืองวอร์ซอและเมืองวิลนาในโปแลนด์ทาให้รัสเซียสูญเสีย ทหารไปกว่า 1 ล้านคน เชลยศึกรัสเซีย
  • 13.  แนวรบด้านบอลข่าน ตุรกีและบัลแกเรียเข้าช่วยกองทัพออสเตรีย-ฮังกาเรีย ทาให้ชนะ เซอร์เบียได้ กองทัพฝ่ายมหาอานาจกลางจึงเข้ายึดประเทศเซอร์เบีย แอลเบเนีย และมอน เตรเนโกร ทหารออสเตรียประหารชีวิตเชลยศึกชาว เซอร์เบีย
  • 14.  แนวรบทางทะเล กองทัพเรืออังกฤษสามารถเอาชนะเยอรมัน และสามารถตัดขาด เส้นทางคมนาคมทางทะเลได้สาเร็จ ต่อมาเยอรมนีหันไปใช้ยุทธการเรือดานา้ไปจมเรือ โดยสารอังกฤษชื่อ ลูซิแทเนีย ส่งผลให้ชาวอเมริกันที่โดยสารมาด้วยเสียชีวิต สร้างความ ไม่พอใจให้แก่สหรัฐอเมริกามาก จึงตัดสินใจเข้าช่วยฝ่ายสัมพันธมิตรโดยประกาศ สงครามกับเยอรมนี เรืออาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย ขณะเทียบท่าในนคร นิวยอร์ค เดือนกันยายนปี 1907
  • 15. การเข้าร่วมสงครามของสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาส่งทหารและยุทโธปกรณ์ทาง บก ทางเรือ และทางอากาศเข้าร่าวมรบและปราบปรามเรือดานา้ของเยอรมันีและได้เพิ่ม กาลังทหารเข้าไปในยุโรปจานวนกว่า 1 ล้านคน หลังจากนัน้กองทัพเยอรมันก็ตกเป็นฝ่าย เสียเปรียบ ฝั่งประเทศพันธมิตรของเยอรมันก็เริ่มพ่ายแพ้ ในวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ.1918 ออสเตรีย-ฮังการีแยกออกเป็น 2 ประเทศ และขอ ทาสัญญาสงบศึก ต่อมาในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ.1918 เยอรมนีลงนามสัญญาสงบ ศึก สงครามโลกครัง้ที่ 1 จึงได้ยุติลง
  • 16. หลังจากการเซ็นสนธิสัญญาสงบศึก ระหว่างเยอรมนีกับฝ้ายพันธมิตร ในวันที่ 11 พฤศจิกายน ปี 1918
  • 17. 1. ด้านสังคม ทหารทัง้ฝ่ายมหาอานาจกลางและสัมพันธมิตรได้เข้าร่วมทาการสงครามนี้ ประมาณ 65 ล้านคน มีทหารที่เสียชีวิตไปประมาณ 8.6 ล้านคน บาดเจ็บมากกว่า 20 ล้านคน และมีผู้กลายเป็นคนพิการไปกว่า 7 ล้านคน นอกจากนียั้งทาให้สูญเสยี ประชาชนพลเรือนกว่า 1 ล้านคน มีผู้บาดเจ็บและ ทุพพลภาพจานวนมาก หลายคนเป็น โรคจิตที่เกิดจากการกลัวภัยสงคราม และยัง ปัญหาชนพลัดถิ่นอีกด้วย นางฟลอเรนซ์กรีน ทหารผ่านศึกใน สงครามโลกครัง้ที่หนึ่งคนสุดท้ายเสียชีวิต สงบด้วยวัย 110 ปี
  • 18. 2. ด้านการเมือง ประเทศมหาอานาจกลางอย่าง เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี บัลแกเรีย และตุรกีต้อง เสียดินแดน และอิทธิพลทางการค้า ถูกลดกาลังทหารและอาวุธ และต้องทาสนธิสัญญา สันติภาพที่ประเทศผู้ชนะร่างขึน้ 5 ฉบับ คือ  สนธิสัญญาแวร์ซายส์ทากับเยอรมนี ในสนธิสัญญากาหนดไว้ว่าจักรวรรดิเยอรมนีต้อง ยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่ เพียงผู้เดียว ทาให้เยอรมนีต้องเสียค่า ปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาลและเสียดินแดนหลายแห่ง เยอรมนีไม่สามารถใช้หนี้ สงครามได้และมองสนธิสัญญานีว้่าไม่เป็นธรรม จนฮิตเลอร์นามาประณามเมอื่เริ่มมี อานาจ หน้าต้นของสนธิสัญญาแวร์ซายฉบับ ภาษาอังกฤษ
  • 19.  สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมงทากับออสเตรีย  สนธิสัญญาเนยยี ทากับบัลแกเรีย  สนธิสัญญาตริอานองทากับฮังการี  สนธิสัญญาแซฟส์ทากับตุรกีต่อมาเกิดการปฏิวัติในตุรกีจึงมีการทาสนธิสัญญาใหม่ เรียกว่าสนธิสัญญาโลซานน์ ประเทศตา่งๆในยุโรปเกิดความเสียหายอย่างมาก เพราะสมรภูมิรบอยู่ในยุโรป ทาให้ เกิดมหาอานาจใหม่ อย่าง สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น
  • 20. 3. ด้านเศรษฐกิจ สงครามครัง้นีมี้คา่ใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการผลิตอาวุธใหม่ ๆ ที่มีอานาจ ทาลายล้างสูงกว่าการทาสงครามในอดีต เช่น รถถัง เรือดานา้ แก๊สพิษ ระเบิด เป็นต้น เพื่อหวังชัยชนะหลังสงครามสนิ้สุด ฝ่ายแพ้ต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม ตาม สนธิสัญญา ส่วนฝ่ายชนะก็ต้องรับผิดชอบเลยี้งดูผู้ประสบภัยและบูรณะประเทศ จน ทาให้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทวั่โลก
  • 21. เริ่มขึน้เมื่อวันที่ 3 เดือนกันยายน ค.ศ.1939 และสิน้สุดลงเมื่อวันที่ 2เดือน กันยายน ค.ศ.1945เป็นเวลายาวนานถึง 6 ปี ได้ชื่อว่าเป็นสงครามที่มีขนาดใหญ่ และทาให้เกิดความสูญเสียครัง้ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก
  • 22. 1. ลัทธิจักรวรรดินิยม หลังสงครามโลกครงั้ที่ 1 ประเทศมหาอา นาจยังคงมีการแข่งขันแสวงหาอาณานิคม นิคมโดยการรุกรานอยู่ เช่น ญี่ปุ่นยึดครองแมนจูเรีย ประเทศจีน เปลี่ยนชื่อเป็น แมนจูกัว
  • 23. เยอรมนีแม้จะเป็นฝ่ายแพ้ในสงครามโลกครัง้ ที่ 1 แต่ก็ยังสามารถผนวกออสเตรียเข้าสู่เยอรมนีได้ใน ปี 1938 ความจริงแล้วรัฐธรรมนูญของทัง้สองประเทศ ได้กาหนดให้ แคว้นออสเตรีย เป็นส่วนหนึ่งของ เยอรมนี แต่ว่าการกระทาดังกล่าวได้รับการขัดขวาง โดยสนธิสัญญาแวร์ซายส์เมื่อเวลาผ่านไป ชาว ออสเตรียจานวนมากก็ลืมเรื่องนีไ้ป พรรคนาซีแห่ง ออสเตรียจึงก่อรัฐประหาร และมอบอานาจให้พรรคนา ซีแห่งเยอรมนี ฮิตเลอร์ได้ออกคาสงั่ให้ทหารเยอรมัน เดินเข้าสู่พนื้ที่ ชาวออสเตรียไม่ได้ลุกขึน้มาตอ่ต้าน เหตุการณ์ในครัง้นีเ้ลย เนื่องจากพวกเขามีความ ต้องการเช่นนีอ้ยู่แล้ว และเยอรมนียังผนวกแคว้นชูเด เตนส์ของเชโกสโลวะเกียที่มีพลเมืองเป็นชาวเยอรมัน และยึดครองเชโกสโลวะเกีย ทาให้เยอรมันอยู่ในสภาพ พร้อมที่จะทาสงคราม
  • 24. 2. ลัทธิชาตินิยม ความไม่ยุติธรรมทางสนธิสัญญาแวร์ซาย์ทา ให้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ผู้นาของ เยอรมนีหันไปใช้ลัทธินาซีเพื่อสร้างประเทศให้ยงิ่ใหญ่ และเยอรมันยังเข้ากวาดล้าง ชาวยิวเพราะฮิตเลอร์เชื่อว่าชาวยิวเป็นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าของชนเผ่าอารยัน เช่นเดียวกับ เบนิโต มุสโสลินีผู้นาอิตาลี หันไปใช้ลัทธิฟาสซิสต์ส่วนญี่ปุ่น ต้องการ สร้างความยงิ่ใหญ่เพื่อเป็นผู้นาในเอเชีย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ผู้นาเยอรมัน ถ่ายรูปคู่กับสหายของเขา เบนนิโต มุสโสลินีจอมเผด็จการอิตาลี
  • 25. 1. เหตุผลทางด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ชาวยิว นั้นเป็นคนฉลาด จึงเป็นผู้กุมเศรษฐกิจของโลก เกือบทัง้หมด และเป็นผู้กุมเศรษฐกิจของเยอรมัน ในช่วงนั้น ฮิตเลอร์หัวหน้าพรรคนาซีก็มีความ หยงิ่ในชาติพันธ์ขุองตนเองอย่างสูงรวมทัง้ต้องการ จะสถาปนาอาณาจักรไรซ์ที่ 3ขึ้นมาใหม่ ฮิตเลอร์ ต้องการที่จะให้โลกมีแต่ชาติพันธ์ขุองตนเองก็คือ อารยัน เลยต้องกา จัดชาวยิวผู้กุมเศรษฐกิจของ เยอรมันให้ได้ก่อน
  • 26. 2. เหตุผลทางด้านเชื้อชาติ รากฐานของลัทธินาซีคิดว่าชนชาติผิวขาวเหนือกว่าคนอื่นในโลกนี้ซึ่งคนนาซี มักจะคิดและมองว่า คนผิวดา คนเอเชีย และชนชาติยิว จะมีร่างกายและสติปญัญาที่ ด้อยกว่าพวกคนผิวขาว 3. ฮิตเลอร์เกลียดยิวมาก เพราะยิวเป็นผู้มายึดครองเยอรมันในอดีต และขับไล่ชนชัน้อารยันออกจาก ประเทศเยอรมัน เพราะดินแดนนี้เป็นดินแดนศักดิส์ิทธิต์ามความเชื่อของชาวยิว โดยเมื่อยิวเข้ามายึดครองเยอรมันแล้ว ก็ได้มาแย่งที่ทา มาหากิน และแย่งอาหารของ ชาวเยอรมัน
  • 27. 4. ในช่วงหลังสงครามโลกครัง้ที่ 1 นั้น เยอรมันแพ้สงครามจึงต้องปฏิบัติตาม สนธิสัญญาแวร์ซายส์ซึ่งร่างขึ้นโดยกล่มุนายธนาคารยิวสากล และเป็นการเอารัดเอา เปรียบชาวเยอรมันเป็นอย่างมาก ชาวยิวตัง้ใจว่า สนธิสัญญานี้จะเป็นการบีบบังคับให้ เกิดสงครามโลกขึ้นอีกครัง้หนึ่ง เพราะรู้ว่า ในที่สุดคนเยอรมันก็จะสิ้นสุดความอดทน ลุกขึ้นต่อสู้ สงครามก็จะปะทุขึ้นอีกแน่นอน และแต่ละประเทศ จะต้องหาเงินกู้จากนาย ธนาคารยิวที่ทรงอิทธิพลการเงินอยู่ทัว่ยุโรปเพื่อจัดซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์ แหล่ง ทรัพยากรสา คัญของประเทศจะต้องนาออกมาใช้อย่างไม่มีทางเลี่ยง
  • 28. ศพชาวยิว
  • 29. พืน้ที่ที่เหล่าเหยื่อชาวยิว จะถูกส่งเข้าเพื่อเป็น ที่ตาย โดยการรมด้วยแก๊สพิษ บริเวณหลังคาของห้องรมแก๊สพิษ ที่เห็นเป็น ปล่องเหล็กมีฝาปิดคือ ช่องสาหรับหย่อนแก๊ส พิษลงไปภายในห้องเพื่อฆ่าชาวยิว
  • 30. คนยิวถูกบังคับให้อยู่อย่างเสีย ศักดิ์ศรีเช่นต้องทางาน บริการ ขัดพืน้ที่สาธารณะ
  • 31. การยิงเป้าลงหลุม
  • 32. คนตายจากก็าซพิษน่าสยดสยอง เน่อืงจากก๊าซ พิษจะค่อยๆลอยขึ้นข้างบน ผลคือ คนที่อยู่ในห้อง รมก็าซจะตะเกียดตะกายเหยียบกันเอง แล้วคนที่ อยู่บนสุดของกองศพในห้องรมก๊าซ ก็ตาย เหมือนเดิมอยู่ดี คนที่เคยอยู่ค่ายกักกันทุก คนจะถูกสักเลข เหมือนวัวเหมือนควาย ยิวทุกคนจะถูก เรียกด้วยแคห่มายเลขนีไ้ม่มีชื่อ ไม่มีค่า ความเป็นคน
  • 33. การติดเชือ้โรคผิวหนัง ซงึ่ในชีวิตจริง หายาก มากถ้าไม่อยู่ในสภาพที่สกปรกจริงๆ แว่นตาของ ผู้โชคร้ายที่ถูกรมแก๊ซ
  • 34. และแล้ววันหนึ่ง ไรซ์ที่ 3 ล่มสลาย ชาวยิวจึงเป็นอิสระ! นักโทษเชลยศึกชาวยิวยืนอยู่หลังรัว้ไฟฟ้า กาลังโห่ร้องเชียร์ ทหารอเมริกันที่เข้ามาช่วยเหลือปลดปล่อยให้เป็นอิสระ นักโทษช่วยกันประดับธงหลายเชือ้ชาติที่แอบทาขึน้มา
  • 35. ก่อนที่จะฝังศพเชลยศึกที่เสียชีวิต พลเมืองชาว เยอรมันจะโดนบังคับให้ดูร่างผู้เสียชีวิต จากฝีมือความโหดร้ายทารุณของเยอรมัน
  • 36. 3. ลัทธินิยมทางทหาร ในค.ศ.1933 หลังจากเยอรมันได้ยกเลิกสนธิสัญญาแวร์ซาย์ก็ได้เรมิ่ลงมือ เกณฑ์ทหารปรับปรุงกองทัพจนมีกองทัพอากาศที่แข็งแกร่ง และยังสร้างอาวธุใหม่ๆ สร้างป้อมปราการที่แม่น้าไรน์และยังมีผู้นาอีกหลายประเทศได้สร้างความเข้มแข็ง ทางทหารและสะสมอาวุธร้ายแรงต่าง ๆ ได้แก่ อิตาลี และญี่ปุ่น เพื่อขยายอา นาจ ทางการเมืองโดยใช้กา ลังเข้ายึดครองดินแดนต่าง ๆ และใช้กองทัพปกป้อง ผลประโยชน์ของชาติตน
  • 37. 4. มหาอานาจแบ่งเป็น 2 ฝ่าย  ฝ่ายอักษะ (Axis) ประกอบด้วย เยอรมัน อิตาลี และญี่ปุ่น ซึ่งดาเนินนโยบายรุกรานและขยายอานาจ Adolf Hitler Benito Mussolini Hideki Tojo
  • 38.  ส่วนฝ่ายพันธมิตร (Allies) ซึ่งเป็นฝ่ายประชาธิปไตยตะวันตก ประกอบได้ด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา สหภาพโซเวียต และจีน Franklin Delano Roosevelt (USA) Sir Winston Leonard Spencer-Churchill (UK) Charles de Gaulle
  • 39. ในตอนแรกฝรั่งเศสและอังกฤษใช้นโยบายผ่อนปรนกับเยอรมัน คือการยอมให้ เยอรมันผนวกออสเตรียและแคว้นซูเดเทน เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดสงคราม และตัวฮิตเลอร์ เองที่พยายามแสดงให้พันธมิตรเห็นว่า เขาไม่ใช่ภัยคุกคามต่อพันธมิตร และเป็นผู้ที่ ต้องการสันติภาพเช่นเดียวกับอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงแต่ต้องการฟื้นฟูประเทศเยอรมัน ที่ตกต่าเท่านัน้ ทาให้พันธมิตรนิ่งเฉยต่อการดาเนินการของฮิตเลอร์ แต่ในเดือนมีนาคม ค.ศ.1939 ฮิตเลอร์ได้ส่งกองทัพเข้ายึดเชโกสโลวะเกีย และ ต่อมาได้บุกโจมตีรุกรานดินแดนทางด้านตะวันตกของโปแลนด์อย่างรวดเร็ว ในวันที่ 1 กันยายน 1939 ถือเป็นการเริ่มสงครามโลกครัง้ที่ 2 เพราะอังกฤษและฝรั่งเศสได้ให้คามนั่ สัญญาว่าจะให้ความช่วยเหลือแก่โปแลนด์หากถูกเยอรมนีรุกราน
  • 40. 5. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ หลังจากสนิ้สุดสงครามโลกครัง้ที่ 1 ประธานาธิบดีวูดโรว์วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา ได้เสนอให้ก่อตัง้องค์การสันนิบาตชาติขึน้ เพื่อเป็นองค์การกลางที่จะใช้แก้ปัญหากรณี พิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธีได้มีการประชุมครัง้แรก ณนครเจนิวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ องค์การสันนิบาตชาติ ( League of Nations )
  • 41. 1) สมาชิกภาพ ประเทศที่เป็นฝ่ายชนะในสงครามโลกครัง้ที่ 1 ทุกประเทศได้ร่วมลงนามใน สนธิสัญญาสันติภาพ เป็นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติโดยอัตโนมัติ ประเทศที่แพ้ สงครามมีสิทธิ์เข้าเป็นสมาชิกขององค์การได้ ส่วนสหรัฐอเมริกาแม้จะเป็นผู้ริเริ่มองค์การ นี้ก็ไม่ได้เป็นสมาชิก เนื่องจากสภาคองเกรสของสหรัฐอเมริกาไมย่อมให้สัตยาบัน ซงึ่มี นโยบายไม่ยุ่งเกี่ยวและแทรกแซงทางการเมืองของประเทศทางยุโรป 2) วัตถุประสงค์ - รักษาความปลอดภัยและความมนั่คงระหว่างประเทศ - เป็นองค์กรกลางในการตัดสินชีข้าดกรณีพิพาท - ดาเนินการลดกาลังอาวุธยุทโธปกรณ์ - ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อเปิดความสัมพันธ์ทางการทูต
  • 42. จุดอ่อนขององค์การสันนิบาตชาติ  องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถหยุดยัง้การรุกรานของประเทศมหาอานาจได้ เช่น - เหตุการณ์ญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรียของจีน องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถใช้มาตรการ ใดๆ ลงโทษญี่ปุ่นได้ - เหตุการณ์รุนแรงที่เกาะคอร์ฟู อิตาลีใช้กาลังเข้ายึดครองเกาะคอร์ฟูของกรีซ ซึ่งองค์การ สันนิบาตชาติไม่สามารถยับยัง้หรือลงโทษอิตาลีได้ ทัง้ๆที่กรีซและอิตาลีตา่งก็เป็นสมาชิก ขององค์การ - เยอรมนีละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย โดยการส่งทหารเข้าสู่เขตปลอดทหารไรน์แลนด์ของ เยอรมนี - สงครามอะบิสซิเนียที่อิตาลีส่งกองทัพบุกอะบิสซิเนีย (เอธิโอเปีย) โดยไม่ประกาศ สงคราม และสามารถยึดกรุงแอดดิสอาบาบาได้ ซึ่งสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติได้ ลงมติประณามอิตาลีว่าเป็นฝ่ายรุกราน และลงโทษอิตาลีโดยการงดติดต่อค้าขายกับ อิตาลี แต่ไม่ได้ผลเพราะอิตาลีได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี อีกทัง้อิตาลียังตอบโต้ด้วย การลาออกจากการเป็นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติอีกด้วย
  • 43.  สถานการณ์ของสงคราม 1.วิกฤตการณ์ก่อนเกิดสงครามโลก เมื่อเยอรมันได้ฝ่าฝืนสนธิสัญญาแวร์ซาย เเละเริ่มรุกรานประเทศต่างๆร่วมกับ อิตาลีโดยไม่มีผู้ใดขัดขวาง ทาให้อังกฤษเเละฝรั่งเศสได้ตะหนักว่าเยอรมันต้องการทา สงคราม 2.กองทัพเยอรมันบุกโปแลนด์ทาให้เกิดสงครามโลก เยอรมันบุกโปแลนด์วันที่ 1 กันยายน ค.ศ.1939 เพราะต้องการฉนวนดานซิกคืน (ฉนวนดานซิก คือส่วนที่แบ่งเยอรมันออกเป็น 2 ส่วนเพื่อเจาะให้เป็นทางออกสู่ทะเล สาหรับโปแลนด์)
  • 44. ทางอังกฤษและฝรั่งเศสที่เคยให้สัญญากับโปแลนด์ว่าจะช่วยถ้าถูกเยอรมันรุกราน ได้ขอให้เยอรมันถอนกาลังทหารออกไป แต่เยอรมันก็ไม่ยอม อังกฤษและฝรั่งเศสจึง ประกาศสงครามกับเยอรมนี สงครามโลกครัง้ที่ 2 จึงเกิดขึน้
  • 45. 3.สงครามในทวีปยุโรป ในขณะที่เยอรมันบุกโปแลนด์ไปถึงกรุงวอร์ซอ สหภาพโซเวียตก็ได้บุกเข้าไปใน โปแลนด์ฝั่งตะวันออก ทาให้โปแลนด์ต้องยอมแพ้ในวันที่ 27 กันยายน ค.ศ.1939 และถูก แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
  • 46. เยอรมันก็ทาสงครามต่ออีก โดยยึดครองเดนมาร์ก นอร์เวย์เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส สามารถยึดปารีสได้ในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ.1940 โดยเยอรมัน ส่งกองทัพทาการอ้อมผ่าน แล้วจึงเข้าตีจากด้านข้างและด้านหลัง แล้วเข้าจู่โจมตรงที่ Maginot Line(ป้อมมายิโน่) เมื่อยึดป้อมมายิโน่เสร็จก็ทาการเปลี่ยนทิศของปืนใหญ่ซึ่ง ปรกติเคยตัง้ปากกระบอกไปที่ฝั่งเยอรมัน ให้หันไปยิงทางฝั่งฝรั่งเศสแทน ฝรั่งเศสจึงต้อง ยอมปล่อยปารีสให้เป็นเมืองเปิดจนทัพเยอรมันสามารถเข้ามายึดครองได้
  • 47. 4.สงครามระหว่างเยอรมนีกับอังกฤษ เยอรมนีเริ่มบุกหมู่เกาะอังกฤษในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1940 โดยใช้เครื่องบินจากเยอรมนี บินข้ามทะเลเหนือทิง้ระเบิดโจมตีอังกฤษอย่างดุเดือด จนถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1941 แตก่็ไม่ สามารถที่จะยึดหมู่เกาะอังกฤษได้ เยอรมนีภายใต้การนาของฮิตเลอร์จาต้องหยุดปฏิบัติการ โจมตีอังกฤษชวั่คราว สาเหตุที่อังกฤษยังคงยืนหยัดอยู่ได้เพราะนายกรัฐมนตรีวนิสตัน เชอร์ชิ ลได้กล่าวกับประชาชนชาวอังกฤษ เสริมสร้างขวัญและกาลังใจคนอังกฤษให้ยืนหยัดต่อสู้ไม่ หวาดกลัวท้อแท้การก้าวร้าวโจมตีใดๆ ของเยอรมนีและให้ความหวังว่าชัยชนะจะต้องมีขึน้ใน อนาคตอย่างแน่นอน กองกาลังทัง้ทางเรือและอากาศของอังกฤษปฏิบัติอย่างเต็มกาลัง ความสามารถ วิหารเซนต์พอล ในกรุงลอนดอน ขณะถูกฝูงบินเยอรมันทิง้ระเบิดใส่ กรุงลอนดอน
  • 48. 5.สงครามในคาบสมุทรบอลข่าน เนื่องจากในสงครามโลกครัง้ที่ 1 อังกฤษได้รับตาแน่งมหาอานาจทางทะเล เยอรมันจึงต้องการตัดเส้นทางทางลงทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของอังกฤษ โดยเอาฮังการี และโรมาเนียมาเป็นพันธมิตร และยึดครองประเทศกรีซได้โดยมีกองทัพอิตาลีมาสมทบ
  • 49. 6.สงครามระหว่างเยอรมนีกับสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.1941 กองทหารเยอรมันเข้ายึดโปแลนด์ส่วนมี่สหภาพ โซเวียตครองอยู่ และยังบุกเข้ายูเครน และรัสเซียภาคใต้ แต่ไม่สามารถไปเมืองเลนินก ราดและกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เพราะกองทัพโซเวียตสามารถต้านทานไว้ได้
  • 50. 7.สงครามในทวีปแอฟริกา เป็นการรบระหว่างอังกฤษกับอิตาลี เยอรมันได้ส่งทหารมาช่วยอิตาลี ส่วนอังกฤษ ก็มีกองทัพพันธมิตรจากสหรัฐอเมริิกา อังกฤษ และฝรั่งเศส มาช่วยเช่นกัน ทาให้กองทัย เยอรมันต้องยอมแพ้ที่ตูนิเซีย ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1943
  • 51. 8.พันธมิตรยกพลขึน้บกที่อิตาลี  เมื่อได้รับชัยชนะที่ตูนีเซีย กองทัพพันธมิตรก็สามารถ ขึน้อิตาลี และทาการยึดเกาะซิซิลี  พันธมิตรบังคับให้มุสโสลินีลาออก แต่มุสโสลีนี ต้องการจัดตัง้รัฐบาลขึน้เองอีก โดยได้รับแรงสนับสนุน จากฮิตเลอร์จึงถูกชาวอิตาลีจับประหารชีวิต และถูก มวลประชาชนจับแขวนคอห้อยศรีษะลงดินเมื่อวันที่ 28 เมษายน ค.ศ.1945  กองทัพฝ่ายพันธมิตรเข้ายึดครองเมืองมิลาน ตูริน และ แคว้นตริเอสเต และเป็นจุดสนิ้สุดสงครามในประเทศ อิตาลี
  • 52. 9.กองทัพพันธมิตรบุกยุโรปตะวันตก ในวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ.1944 ซึ่งเป็นวัน D-Dayกองทัพพันธมิตรบุกมาทางตะวันตกของ ฝรั่งเศส บริเวณหาดนอร์มังดี และมาบรรจบกับกองทัพสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 26 เมษายน ที่ กรุงเบอร์ลิน ฮิตเลอร์และภรรยาได้ฆ่าตัวตายในหลุมหลบภัย พวกพ้องก็เอาศพไปเผาจนไม่มี อะไรเหลือ ดร.เกิบเบลส์คนสนิทของฮิตเลอร์ที่ทาหน้าที่เป็นปากเสียงให้พรรคนาซีตลอดมา ก็ ฆ่าบุตรภรรยาแล้วฆ่าตัวตายตาม ส่วนคนสาคัญในพรรคนาซีอีกหลายคนได้ถูกฝ่าย สัมพันธมิตรจับตัว และนาขนึ้ศาลอาชญากรสงคราม ทุกคนตา่งก็ให้การวา่ถูกบังคับให้ต้องฆ่า คนเป็นล้าน ๆ ด้วยต้องปฏิบัติตามคาสงั่ของผู้บังคับบัญชา ในวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ.1945 เยอรมนีจึงต้องยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข
  • 53.  10.สงครามด้านแอเชีย-แปซิฟิก หลังจาก อดอฟ ฮิตเลอร์ ก็ยิงตัวตาย ฝ่ายกองทัพเยอรมันในประเทศต่างๆ เริ่มยอมแพ้ จึงได้มีการเจรจาสันติภาพกับ ญี่ปุ่นให้ยอมจานน แตญี่่ปุ่นไม่ยอมรับ ญี่ปุ่นต้องการขยายอาณา เขต โดยได้เข้าโจมตีจีน และยึดอินโดจีนของฝรั่งเศส เมื่อคราวฝรั่งเศสประกาศยอมแพ้ต่ออิตาลี จนเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ญี่ปุ่นได้เริ่มสงครามโดยการทาลายอ่าวเพิร์ล รัฐฮาวาย (Hawaii) ซงึ่เป็นฐานทัพเรือของอเมริกา สหรัฐอเมริกา จึงตัดสินใจ ทิง้ระเบิดปรมาณูทัง้สองลูกที่ ใส่ประเทศญี่ปุ่นที่เมืองฮิโรชิมา และ เมืองนางาซากิ ระเบิดนิวเคลียร์ Little Boy ที่เมืองฮิโรชิมา ญี่ปุ่น วันที่ 6 สิงหาคม 1945 ระเบิดนิวเคลียร์ FAT MAN ที่เมืองนางาซากิ ญี่ปุ่น วันที่ 9 สิงหาคม 1945
  • 54. ญี่ปุ่นจึงประกาศยอมแพ้แบบ ไม่มีเงื่อนไข หลังจากนัน้ในวันที่ 2 กันยายนค.ศ. 1945 ญี่ปุ่นได้เซ็นสัญญายอมจานนอย่างเป็น ทางการ ในวันนีจึ้งถือได้ว่าเป็นจุดจบของ สงครามโลกครัง้นีอ้ย่างแท้จริง
  • 55. ผลของสงคราม 1) ด้านสังคม สงครามโลกครัง้ที่ 2 ทาให้มีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 68 ล้านคน นอกจากนียั้งมีผู้ประสบเคราะห์กรรมจากภัยสงครามอื่น ๆ อีกเป็นจานวนมาก เช่น บาดเจ็บ ทุพพลภาพ เป็นโรคจิต โรคระบาด ขาดอาหาร หายสาบสูญ 2) ด้านการเมือง ประเทศที่แพ้สงครามต้องเสียค่าปฏิกรรมสงคราม เสียดินแดน และ ต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญาของฝ่ายที่ชนะ  อิตาลี ต้องเสียอาณานิคมและดินแดนบางส่วนให้ยูโกสลาเวีย แอลบาเนีย กรีซ ฝรั่งเศส บางส่วนต้องยกให้สหประชาชาติดูแลต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม 360 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และถูกจากัดกาลังทหาร
  • 56.  เยอรมนี พันธมิตรได้จัดการกับเยอรมนีในฐานะเป็นตัวการสาคัญที่ก่อให้เกิด สงครามดังนี้ 1. เยอรมนีต้องถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ให้อยู่ในความดูแลของสหภาพโซเวียต อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส ประเทศละส่วน 2. นครเบอร์ลิน ซงึ่เป็นเมืองหลวงของเยอรมนีมาตัง้แต่ ค.ศ. 1871 เป็นเขตยึด ครองของ 4 มหาอานาจข้างต้น โดยแบ่งเป็นส่วน ๆ เช่นเดียวกัน 3. ห้ามเยอรมนีผลิตอาวุธสงคราม 4. การผลิตโลหะ เคมี และเครื่องจักรกลที่อาจใช้ในสงครามได้ต้องอยู่ในความ ควบคุมดูแลของมหาอานาจทัง้ 4 5. ระบบนาซีทุกรูปแบบต้องยกเลิก
  • 57.  ญี่ปุ่น ซงึ่เป็นผู้ก่อและขยายสงครามในทวีปเอเชียนัน้ ฝ่ายพันธมิตรมอบอานาจให้ สหรัฐอเมริกาจัดดาเนินการโดยลาพัง ดังนัน้สหรัฐอเมริกาจึงได้ยึดครองญี่ปุ่นโดยมีนาย พลดักลาส แมกอาเทอร์(Douglas McArthur) เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด และให้ญี่ปุ่น ปฏิบัติตามสนธิสัญญาโดยเคร่งครัด เช่นห้ามการมีกองทัพทหารและนโยบายการเมือง ระหว่างประเทศ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นต้องยอมรับ รัฐธรรมนูญที่สหรัฐอเมริการ่างให้ด้วย Douglas McArthur
  • 58. 3) ด้านเศรษฐกิจ ในสงครามโลกครัง้ที่ 2 ประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศผู้ริเริ่มสงคราม และประเทศมหาอานาจ ต้องเสียค่าใช้จ่ายไปเป็นจานวนมากเพื่อการฝึก การบารุงขวัญ ทหาร และเพื่อการผลิตอาวุธที่มีศักยภาพสูงและทันสมัย มีอาวุธบางชนิดที่ไม่เคยใช้ที่ใด มาก่อน เช่น เรดาร์ตรวจจับ เรือดานา้ เรือบรรทุกเครื่องบิน จรวด เครื่องบินชนิดตา่ง ๆ ระเบิดปรมาณู เป็นต้น
  • 59. นอกจากนียั้งต้องเสยีค่าใช้จา่ยไปกับสิ่งก่อสร้างและเมืองตา่งๆที่ได้รับความเสียหาย
  • 60.  สงครามเย็นเป็นเหตุการณ์ที่เกิดหลังยุคสงครามโลกครัง้ที่ 2 ในช่วง ค.ศ. 1945- 1991  สงครามเยน็เป็นการขัดแย้งกันระหว่างกลุ่มประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซ เวียต มหาอานาจผู้นากลุ่มประเทศทัง้สองฝ่าย แข่งขันกันเพื่อเป็นผู้นาโลก ทัง้ด้าน การเมือง เศรษฐกิจ และโฆษณาชวนเชื่อ โดยไม่ใช้กาลังทหารและอาวุธมาสู้กัน
  • 61. จากสงครามโลกครัง้ที่ 2 ได้ทาลายสถานะทางอานาจของ มหาอานาจเดิม คือเยอรมนีและญี่ปุ่น ส่วนอังกฤษกับฝรั่งเศสที่เป็น ชาติที่ชนะสงครามแต่ก็ได้รับความบอบชา้จากสงครามอย่างหนัก ทา ให้ชาติมหาอานาจเป็นอเมริกากับสหภาพโซเวียต
  • 62. อุดมการณ์ทางการเมืองที่ต่างกัน  จากที่ผ่านมาในสงครามโลกครัง้ที่ 2 สหรัฐอเมริกาเสียหายน้อยกว่าประเทศคู่สงครามใน ยุโรป ทัง้ยังเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีสูง สหรัฐอเมริกา จึงก้าวมาเป็นมหาอานาจในสงครามเย็น โดยสหรัฐอเมริกายึดหลักลัทธิเสรีประชาธิปไตย เป็นอุดมการณ์ทางการเมือง โดยให้ความสาคัญกับการเมืองแบบเสรีนิยม  ส่วนสหภาพโซเวียตฟื้นตัวจากสงครามโลกครัง้ที่ 2 อย่างรวดเร็ว เพราะพนื้ที่กว้างใหญ่ มี ทรัพยากรธรรมชาติมาก สหภาพโซเวียตต้องการเป็นผู้นาในการปฏิวัติโลกเพื่อสถาปนา ระบบสังคมนิยม คอมมิวนิสต์ตามแนวคิดของมาร์กซิสต์  ดังนัน้ ทัง้สองมหาอานาจจึงให้ความช่วยเหลอืกับประเทศต่างๆ เพื่อขยายอิทธิพล อานาจ และอุดมการณ์ เพื่อให้ประเทศที่มีอุดมการณ์เหมือนกับตนมาเป็นเครื่องถ่วงดุล อานาจกับฝ่าย ตรงข้าม
  • 63. ความขัดแย้งของผู้นาของชาติมหาอานาจ  ผู้นาของสหภาพโซเวียดในขณะนัน้ คือ โจเซฟ สตาลิน ซึงเป็นผู้นาเผด็จการ ไม่ไว้วางใจ ประเทศตะวันตก เห็นว่าประเทศตะวันตกต้องการทาลายคอมมิวนิสต์ โจเซฟ สตาลิน
  • 64.  ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา สมัย สงครามโลกครัง้ที่ 2 คือ เฮนรี ทรูแมน ได้ ตระหนักถึงการคุกคามของคอมมิวนิสต์ใน บริเวณ ยุโรปตะวันออก จึงได้ประกาศหลักทรู แมน ซึ่งให้ความช่วยเหลือกรีซ และตุรกีใน กรณีที่ถูกคุกคามจากคอมมิวนิสต์ แสดง เจตนารมณ์สกัดกัน้อิทธิพลของสหภาพโซเวีย ตนอกเขตยุโรปตะวันออก  ต่อมาสหรัฐอเมริกาได้ประกาศแผน มาร์แชล เสนอให้เงินช่วยเหลือฟื้นฟูประเทศต่างๆ ใน ทวีปยุโรปที่ประสบภัยจากสงครามโลกครัง้ที่ 2 โดยจะให้กับประเทศยุโรปตะวันออกด้วย เฮนรี ทรูแมน
  • 65.  สงครามเย็นเป็นสงครามที่ไม่มีการปะทะกัน แต่เป็นการแข่งขันกันด้านการสร้าง พัฒนา และสะสมอาวุธนิวเคลียร์ การสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางทหาร การแข่งขันและกีดกัน ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การโฆษณาชวนเชื่อ การสนับสนุนให้กลุ่มประเทศ พันธมิตรทา สงครามตัวแทน ( proxy war ) การแข่งขันการสารวจอวกาศ เริ่มจากการที่ สหภาพโซเวียตสามารถส่งดาวเทียมดวงแรกออกไปในอวกาศได้
  • 66.  ดาวเทียมดวงแรกที่ส่งไปโคจรอวกาศสาเร็จ คือ Sputnik ของสหภาพโซเวียด ในปี พ.ศ.2500 ทาให้ จอห์น เอฟ เคเนดี้ซึ่งเป็นประธานาธิบดีของอเมริกา กล่าวว่า “อเมริกา จะส่งมนุษย์ ไปลงดวงจันทร์ให้ได้ภายใน 10 ปี” ดาวเทียม sputnik ต่อมาไม่นานอเมริกาก็ส่งดาวเทียมขึน้ไปใน อวกาศได้สาเร็จ แล้วก็สามารถส่งมนุษย์คน แรกไปดวงจันทร์ได้ คือ นิลอาร์มสตรอง
  • 67. กรณีปัญหาเรื่องประเทศเยอรมนี  หลังสงคราม เยอรมันถูก 4 มหาอานาจแบ่งยึดครอง คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา และโซ เวียต  เยอรมันฝั่งตะวันออกปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์ โดย สหภาพโซเวียด  เยอรมันฝั่งตะวันตกเป็นประชาธิปไตย ปกครองโดย อังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา  เพราะเยอรมันตะวันตกปกครองแบบเสรีนิยม พัฒนาเศรษฐกิจจนกลายเป็นประเทศที่มงั่ คงั่ ทาให้ประชาชนฝั่งตะวันออกอพยพย้ายไปอยู่เยอรมันตะวันตก สหภาพโซเวยีตจึง สร้างกาแพงเบอร์ลินขึน้มาปิดล้อมไมใ่ห้อพยพหนี กาแพงเบอร์ลินจึงเป็นสัญลักษณ์ของ ความขัดแย้งทางด้านการเมืองในยุคสงครามเย็น
  • 68. กาแพงเบอร์ลิน
  • 69.  จากความขัดแย้งทางการเมืองทาให้สหรัฐอเมริกาสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้านการเมือง การทหารแก่กลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก ได้จัดตัง้องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือ นาโต ขึน้เพื่อต่อต้านอิทธิพลของสหภาพโซเวียต  ส่วนสหภาพโซเวียตก็จาเป็นต้องมีกองทหารไว้ควบคุมเขตอิทธิพลของตน จึงมีการจัดตัง้ ระบบพันธมิตรทางทหารของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกก่อให้เกิด สนธิสัญญาวอร์ซอ ขึน้
  • 70.  ในช่วงสงครามเย็นประเทศต่างๆในยุโรปถูกแบ่งเป็น 2 ฝ่ายอย่างชัดเจน คือ  ภูมิภาคยุโรปฝั่งตะวันออกได้กลายเป็นประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ภายใต้การควบคุม ของสหภาพโซเวียต  ภูมิภาคยุโรปตะวันตกเป็นประเทศเสรีนิยม ฝั่งประเทศยุโรปตะวันตกพยายามแทรกซึม เข้าไปในฝั่งประเทศยุโรปตะวันออก โดยการเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับความเจริญรุ่งเรือง และเสรีภาพของประชาชน ทาให้เกิดการต่อสู้เพื่อเสรีภาพขึน้ในยุโรปตะวันออก เช่น โปแลนด์ ฮังการี่ และเชคโกสโลวาเกีย
  • 71. สงครามเกาหลี  เดิมญี่ปุ่นเป็นผู้ครองคาบสมุทรเกาหลี แต่หลังจากแพ้สงครามโลก เกาหลีถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน 1. เกาหลีเหนือ ปกครองโดยสหภาพโซเวียต 2. เกาหลีใต้ ปกครองโดย สหรัฐอเมริกา
  • 72.  ในวันที 25 มิ.ย.1950 เกาหลีเหนือภายใต้การสนับสนุนของโซเวียตและจีน บุกข้ามเส้น ขนานที่ 38 ลงมายังเกาหลีใต้  สหรัฐอเมริกาภายใต้การนาของประธานาธิบดี ทรูแมน จึงได้สงั่การให้นายพล ดักลาส แมกอาร์เธอร์ผู้บัญชาการสงคราม ให้ทาการขับไล่เกาหลีเหนือออกไป  กองกาลังสหรัฐได้ขับไล่เกาหลีเหนือออกไปและเข้าไปยึดพืน้ที่เกาหลเีหนือได้ถึงบริเวณ แม่นา้ยาลู  จีนจึงประกาศเตือนให้สหรัฐถอนกาลังออก แต่นายพล ดักลาส แมกอาร์เธอร์ไม่ปฎิบัติ ตาม จีนจึงส่งกองทัพบุกกลับมาถึงในเกาหลีใต้ ภายหลังถูกกองทัพสหรัฐและพันธมิตร ตอบโต้ จึงถอยกลับไป  นายพล ดักลาส แมกอาร์เธอร์จึงถูกสงั่ย้าย ให้นายพล แมทธิว ริดจ์เวย์เป็นแทน
  • 73. สงครามเวียดนาม  เมื่อจบ ww2 ฝรั่งเศสพยายามเข้ามาปกครองเวียดนาม จึงเกิดขบวนการ คอมมิวนิสต์เวียดมินห์ภายใต้การนาของ โฮ จิ มินห์มีการสนับสนุนจากประเทศ ชาตินิยมทางตอนเหนือของเวียดนาม เพื่อต่อต้านฝรั่งเศส ทาให้กองทหารฝรั่งเศส พ่ายแพ้ไป  ชาติหมาอานาจอื่นๆ ได้แก่ อังกฤษ อเมริกา จีน และสหภาพโซเวียต รวมทัง้ชาติ ต่างๆในเอเชีย ได้จัดให้มีการเจรจาสงบศึกกันที่ นครเจนีวา
  • 74.  ผลของการเจรจา เวียดนามถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน 1. เวียดนามเหนือ ภายใต้การปกครองของ โฮจีมินห์ 2. เวียดนามใต้ ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิ บ๋าวได่ภายใต้การสนับสนุนของ สหรัฐอเมริกา
  • 75.  ในเวียดนามใต้มีการเคลื่อนไหวของแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติ หรือ เวียดกง  ในสมัย โง ดินห์เสี่ยม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ปราบปรามพวกเวียดกงโดยการสนับสนุน ของสหรัฐอเมริกาเกิดการสู้รบกันภายใน ต่อมา โง ดินห์เสี่ยมถูกโค่นอานาจ  สหรัฐได้ส่งอาวุธและทหารมาช่วยเวียดนามใต้ และทิง้ระเบิดโจมตีเวียดนามเหนือใน ฐานะผู้สนับสนุนเวียดกง แต่เวียดกงใช้วิธีการรบแบบกองโจร ทาให้สหรัฐไม่สามารถ เอาชนะเวียดนามเหนือและเวียดกงได้  สหรัฐอเมริกาจึงเริ่มถอนกาลังทหารออกจากเวียดนาม ทาให้เวียดกงได้เข้าแทรก ซึม เวียดนามใต้และยึดบางส่วน
  • 76.  สงครามเวียดนามเริ่มขยายตัวเข้าสู่ลาวและ กัมพูชาและกองกาลังคอมมิวนิสต์ในลาว และกัมพูชาก็ได้รับการสนับสนุนจากโซเวียต และจีน  ทาให้เกิดสงครามในลาวและกัมพูชา ระหว่าง กลุ่มคอมมิวนิสต์ซงึ่ได้รับการ สนับสนุนจากเวียดนามเหนือและโซเวียต และ กลุ่มนิยมตะวันตกที่ได้รับการสนับสนุน จากสหรัฐอเมริกา  พวกคอมมิวนิสต์เข้ายึดไซง่อนได้ ในวันที่ 30 เมษ. 1975 เป็นการสนิ้สุดสงครามเวียดนาม
  • 77. วิกฤตการณ์คิวบา  คิวบาเป็นประเทศเล็กๆที่อยู่ในทะเลแคริบเบียน  ผู้นาคิวบาคือ บาติสตา (ประธานาธิบดี) ซงึ่บาติส ตาผูกความสัมพันธ์กับอเมริกา  ต่อมาบาติสตาถูกนาย ฟีเดล คัสโตร ปฏิวัติยึด อานาจเปลี่ยนคิวบาให้กลายเป็นคอมมิวนิสต์ ผูกพัน กับโซเวียดแทนอเมริกา  ฝ่ายสหรัฐอเมริกาก็พยามโค่นล้มอานาจของ ฟิเดล คัสโตร โดยการส่งกองกาลังคิวบาที่ลภีั้ยอยู่ในสหรัฐ เข้าโจมตีประเทศคิวบา โดยยกคนขึน้บกที่ อ่าวพิกซ์ แต่รัฐบาลคิวบาปราบลงได้
  • 78.  ในเดือน ตุลาคม 1962 อเมริกาพบว่ารัสเซียได้นาฐานขีปนาวุธนิวเคลียร์มาติดตัง้บนเกาะ คิวบา ซึ่งสามารถยิงจรวดออกจากฐานไปโจมตีสหรัฐอเมริกาได้  จอห์น เอฟ เคเนดี้ประธานาธิบดีของอเมริกาสงั่ให้คิวบาถอนฐานขีปนาวุธนิวเคลียร์ออก ภายใน 30 วัน  คิวบาไม่ปฏิบัติตามและยังติดตัง้ฐานเพิ่มอีก สร้างความไม่พอใจให้กับอเมริกามาก  อเมริกาจึงสงั่กองเรือรบ 180 ลาปิดทะเลแคริบเบียน และแจ้งเตือนสหภาพโซเวยีดว่า สหรัฐเตรียมพร้อมจะตอบโต้ด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ให้คิวบาถอนฐานขีปนาวุธภายใน 24 ชวั่โมง  ผู้นาของสหภาพโซเวียดขณะนัน้คือ นีกีตา ครุชชอฟ จึงยอมปฏิบัติตามคาสงั่ของอเมริกา สงครามระหวา่งอเมริกา รัสเซียและคิวบา จึงไม่เกิดขึน้
  • 79. จอห์น เอฟ เคเนดี้ ฟิเดล คัสโตร (ซ้าย) นีกีตา ครุชชอฟ (ขวา)
  • 80.  สหภาพโซเวียตในยุคที่ มคิาอิล กอร์บาชอฟ เป็นผู้นาได้ดาเนินการปฎริูปบ้านเมืองหลาย ด้าน และเป็นจุดเริ่มต้นทาให้สภาวะสงครามเย็นเริ่มคลี่คลายตัวลง  มีการใช้นโยบายปฏิรูปการเมืองและเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียตให้เป็นเสรี ประชาธิปไตยมากขึน้ เรียกว่า “นโยบายเปิด-ปรับ” หรือ กลาสนอสต์-เปเรสตรอยกา โรนัลด์เรแกน (อเมริกา) มิคาอิล กอร์บาชอฟ (โซเวียต)
  • 81.  ได้มีการทาลายกาแพงเบอร์ลิน รวมเยอรมนี ตะวันออกเข้ากับตะวันตกเป็นประเทศ เดียวกัน  การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1991 ทาให้เกิดรัฐเอกราช 15 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน ลัตเวีย เอสโตเนีย ลิทัวเนีย เบลารุส มอลโดวา อุซเบกิสสถาน อาร์เมเนีย ทาจิกิสถาน เติร์กเมนิสสถาน คาซัคสถาน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน และ คีร์กีซสถาน  สาเหตุของการล้มสลายของสหภาพโซเวียต คือ ปัญหาเงินเฟ้อและความตกต่าทาง เศรษฐกิจ และปัญหาการเมืองภายใน
  • 82. นับตัง้แต่ปี ค.ศ. 1991 เป็นต้นมา บรรยากาศความตึงเครียดของโลกในยุคสงคราม เย็น ได้สนิ้สุดลง มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สา คัญคือ ประเทศคอมมิวนิสต์เริ่ม ปรับตัวเข้าสู่วิถีทางของระบอบประชาธิปไตยมากขึน้ และเปลี่ยนมาใช้ระบบเศรษฐกิจ แบบการตลาดหรือทุนนิยมเสรีตามอย่างโลกตะวันตก
  • 83.  ปุณยวีร์ กังวานสายชล 6.5 เลขที่ 21  พิชญา เมืองเชียงหวาน 6.5 เลขที่ 25