ยินดีที่แวะมาเยี่ยม web blog ทักษะการจัดการความรู้ (KM) ทักษะการเรียนรู้ที่สำคัญและจำเป็นสำหรับผู้เรียนศตวรรษที่ 21 วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ขอบคุณคุณครูชาญวิทย์ ปรีชาพาณิชพัฒนา และเพื่อนๆ ที่แนะนำให้คำปรึกษา

วันเสาร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2558

สัปดาห์ที่ 14 ความขัดแย้งระหว่างประเทศครั้งสำคัญในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เรื่องสงครามโลกครั้งที่ 1 และสงครามโลกครั้งที่ 2

  • 1.  เริ่มขึน้เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ.1914 และสิน้สุดลงเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1918 เป็นเวลายาวนานถึง 4 ปี 3 เดือน  สงครามนีเ้กิดจากความขัดแย้งของประเทศในยุโรป และลุกลามไปยังประเทศ ต่างๆทวั่โลกกว่า 30 ประเทศ จึงทาให้มีผู้เรียกสงครามนีว้่า มหาสงคราม (Great War)
  • 2. 1. ลัทธิชาตินิยม ( nationalism )  เกิดจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ในช่วง ค.ศ.1870-1871ทางฝ่ายปรัสเซียมีผู้นาที่ เข้มแข็งมากอย่าง บิสมาร์ก ซึ่งสามารถเอาชนะ ฝรั่งเศส และรวมไปถึงเดนมาร์ก และออสเตรีย ปรัสเซียจึงเป็นผู้นาในการรวมรัฐเยอรมันเข้า ด้วยกันอีกครัง้ และสถาปนาจักรวรรดิเยอรมัน เป็นชาติที่สาคัญในยุโรป Bismarck
  • 3.  จากการพ่ายแพ้สงครามของฝรั่งเศส จึงต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอร์เรน ให้แก่ เยอรมนี และยังเป็นผลให้จักรวรรดิของฝรั่งเศสต้องสิน้สุดไป เกิดลัทธิชาตินิยมใน หมู่ชาวฝรั่งเศส รวมไปถึง ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลีที่มีการรวมชาติหลังจบสงคราม ฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ชาวสลาฟในคาบสมุทรบอลข่าน
  • 4. 2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม  ในระยะปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในยุโรปมีการแข่งขันด้านการค้าเสรี(free trade) สูงมาก มีการใช้กาลังทหารยึดดินแดนที่มีแหล่งทรัพยากรที่ต้องการ มีการตัง้ภาษี ให้สูงขึน้เพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศคู่แข่งเข้ามาทาการค้าในประเทศบริวารของตน นอกจากนีเ้ยอรมนีและอังกฤษยังแข่งขันกันในด้านอุตสาหกรรมหนัก อุตสาหรรม เคมีและไฟฟ้า
  • 5. ซึ่งการแสวงหาอาณานิคมเจริญถึงที่สุดในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทาให้ ทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกาตกเป็นอาณานิคมของชาวยุโรปเกือบทัง้หมด แบ่งเป็น  ดินแดนในแอฟริกาตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ฝรั่งเศส ดัตช์ (เนเธอร์แลนด์) เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม และโปรตุเกส  ทวีปเอเชียอังกฤษครอบครองอินเดีย พม่า มลายู บอร์เนียว ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์  ฝรั่งเศสครอบครองลาว เขมร ญวน รวมเป็นอินโดจีนฝรั่งเศส  ตะวันออกกลางเป็นดินแดนแข่งขันอิทธิพลระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และ ตุรกี การแข่งขันกันทางด้านนีจึ้งทาให้การมีอาณานิคมเป็นเครื่องมือความยิ่งใหญ่ ของ ชาติ ชาวยุโรปจึงได้มีการตกลงแบ่งเขตอิทธิพลในที่ต่างๆ เพื่อไม่ให้มีปัญหาขัดแย้งกัน ภายหลัง
  • 6. 3. มหาอานาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย แบ่งเป็น  เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี(เป็นจักรวรรดิที่มี ระบอบการปกครองแบบควบคู่) และอิตาลี ได้ ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances)  ฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ เกิดเป็นกลุ่ม ประเทศความตกลงไตรภาคี (Triple Entente) มหาอานาจทัง้ 2 กลุ่มมีการโน้มน้าวประเทศ อื่นๆมาเป็นพันธมิตร เมื่อเกิดข้อขัดแย้งต่างๆ ประเทศในกลุ่มพันธมิตรก็จะมาช่วยกันในการ ทาสงคราม
  • 7. 4. ความไม่มนั่คงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน การเกิดลัทธิชาตินิยมนัน้ทาให้ชาวสลาฟ กรีก และเติร์ก ที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบเมดิ เตอร์เรเนียนและทะเลดา ที่เรียกว่าคาบสมุทรบอลข่านนัน้ เกิดการรวมกาลังเพื่อจะตัง้ชาติใหม่ แต่ละชุมชนมีความต่างในด้านภาษา วัฒนธรรม ศาสนา จึงทาได้ไม่ง่ายนัก และปัญหาที่สาคัญ ก็คือ ประเทศใหญ่ๆ ที่มีพรมแดนชิดกับคาบสมุทรบอลข่านนัน้ไม่ต้องการให้เกิดการรวมชาตินีขึ้น้ กล่าวคือ  ออสเตรีย-ฮังการี ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนีให้รักษาคาบสมุทรบอลข่านไว้เป็นตลาดการค้า และเขตอิทธิพลเมือง  อิตาลี ไม่ต้องการให้ออสเตรีย-ฮังการี ขยายเขตอิทธิพลให้กว้างออกไปอีก  รัสเซีย พยายามหาทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยผ่านดินแดนนี้  อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะมหาอานาจไม่ต้องการให้ทัง้รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ขยาย อิทธิพลไปมากกว่าที่เป็นอยู่ในเวลานัน้
  • 8. เมื่อชนเผ่าสลาฟภายใต้การนาของแคว้นเซอร์เบีย ซึงเป็นรัฐเล็กๆที่แยกตัวออกมา ได้มีความคิดจะรวมชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ในออสเตรีย-ฮังการี เข้าด้วยกัน จึงรวมตัวกับ บัลแกเรียและกรีซ โดยได้รับแรงสนับสนุนจากรัสเซีย ทาสงครามกับตุรกีในยุโรป และ ได้รับชัยชนะ แต่หลังสงครามก็มีปัญหาในเรื่องการแบ่งแยกดินแดน จึงเกิดสงครามกัน ระหว่างบัลแกเรีย – เซอร์เบีย กรีซ ผลของสงครามบัลแกเรียต้องเสียดินแดนบางส่วน ทา ให้เซอร์เบียเป็นแคว้นทีมีอิธิพลมากที่สุดในกลุ่มชาวสลาฟ
  • 9. ชนวนของสงครามนีเ้กิดขึน้เมื่อ Archduke Francis Ferdinand รัชทายาทของ ออสเตรีย-ฮังการีและพระชายาถูกลอบปลงพระชนม์ โดย Gavrilo Principชาวบอสเนียซึ่ง มีเชือ้สายเซอร์เบีย เหตุเพราะโกรธแค้นที่จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีเข้ายึดครองบอสเนีย และขัด ขวางการรวมตัวของชาวสลาฟกับเซอร์เบีย Archduke And His Queen กัฟริโล ปรินซีป ถูกจับกุมทันที หลังลอบปลงพระชนม์
  • 10.  ออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามกับเซอร์เบียในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ.1914 เยอรมนีได้เข้ามาช่วยออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียก็เข้ามาช่วยเซอร์เบีย อังกฤษและฝรั่งเศสก็ ได้เข้ามาช่วยจากการทาพันธะสัญญากับรัสเซีย  ในสงครามนีเ้รียกฝ่ายที่อยู่ข้างเซอร์เบีย รัสเซีย อังกฤษและฝรั่งเศสว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร (Allied Powers)
  • 11.  ฝั่งที่อยู่ข้างออสเตรีย-ฮังการี และเยอรมนีว่า ฝ่ายมหาอานาจกลาง (Central Powers)  ในตอนแรกอิตาลีประกาศตนเป็นกลาง แต่สุดท้ายก็เข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตร สงครามนีไ้ด้ ขยายออกไปนอกยุโรปด้วย ทาให้ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร
  • 12.  แนวรบด้านตะวันตก กองทัพเยอรมันได้ฝ่าดินแดนของประเทศเบลเยียมตามแผนชลีฟ เฟิน(แผนการรบของ เยอรมนีด้วยวิธีการรบรุกอบ่างรวดเร็ว) เพื่อโจมตีฝรั่งเศส แต่ฝ่าย สัมพันธมิตรก็ต้านไว้ได้ ทัง้ 2 ฝ่ายได้ตัง้ยันทัพกันเป็นเวลา 3 ปี  แนวรบด้านตะวันออก รัสเซียส่งกองทัพเข้าตีเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี ในระยะแรก กองทัพรัสเซียเป็นฝ่ายชนะ แต่ภายหลังกองทัพรัสเซียก็ตกเป็นฝ่ายพ่ายแพ้กองทัพ เยอรมันเข้ายึดเมืองวอร์ซอและเมืองวิลนาในโปแลนด์ทาให้รัสเซียสูญเสีย ทหารไปกว่า 1 ล้านคน เชลยศึกรัสเซีย
  • 13.  แนวรบด้านบอลข่าน ตุรกีและบัลแกเรียเข้าช่วยกองทัพออสเตรีย-ฮังกาเรีย ทาให้ชนะ เซอร์เบียได้ กองทัพฝ่ายมหาอานาจกลางจึงเข้ายึดประเทศเซอร์เบีย แอลเบเนีย และมอน เตรเนโกร ทหารออสเตรียประหารชีวิตเชลยศึกชาว เซอร์เบีย
  • 14.  แนวรบทางทะเล กองทัพเรืออังกฤษสามารถเอาชนะเยอรมัน และสามารถตัดขาด เส้นทางคมนาคมทางทะเลได้สาเร็จ ต่อมาเยอรมนีหันไปใช้ยุทธการเรือดานา้ไปจมเรือ โดยสารอังกฤษชื่อ ลูซิแทเนีย ส่งผลให้ชาวอเมริกันที่โดยสารมาด้วยเสียชีวิต สร้างความ ไม่พอใจให้แก่สหรัฐอเมริกามาก จึงตัดสินใจเข้าช่วยฝ่ายสัมพันธมิตรโดยประกาศ สงครามกับเยอรมนี เรืออาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย ขณะเทียบท่าในนคร นิวยอร์ค เดือนกันยายนปี 1907
  • 15. การเข้าร่วมสงครามของสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาส่งทหารและยุทโธปกรณ์ทาง บก ทางเรือ และทางอากาศเข้าร่าวมรบและปราบปรามเรือดานา้ของเยอรมันีและได้เพิ่ม กาลังทหารเข้าไปในยุโรปจานวนกว่า 1 ล้านคน หลังจากนัน้กองทัพเยอรมันก็ตกเป็นฝ่าย เสียเปรียบ ฝั่งประเทศพันธมิตรของเยอรมันก็เริ่มพ่ายแพ้ ในวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ.1918 ออสเตรีย-ฮังการีแยกออกเป็น 2 ประเทศ และขอ ทาสัญญาสงบศึก ต่อมาในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ.1918 เยอรมนีลงนามสัญญาสงบ ศึก สงครามโลกครัง้ที่ 1 จึงได้ยุติลง
  • 16. หลังจากการเซ็นสนธิสัญญาสงบศึก ระหว่างเยอรมนีกับฝ้ายพันธมิตร ในวันที่ 11 พฤศจิกายน ปี 1918
  • 17. 1. ด้านสังคม ทหารทัง้ฝ่ายมหาอานาจกลางและสัมพันธมิตรได้เข้าร่วมทาการสงครามนี้ ประมาณ 65 ล้านคน มีทหารที่เสียชีวิตไปประมาณ 8.6 ล้านคน บาดเจ็บมากกว่า 20 ล้านคน และมีผู้กลายเป็นคนพิการไปกว่า 7 ล้านคน นอกจากนียั้งทาให้สูญเสยี ประชาชนพลเรือนกว่า 1 ล้านคน มีผู้บาดเจ็บและ ทุพพลภาพจานวนมาก หลายคนเป็น โรคจิตที่เกิดจากการกลัวภัยสงคราม และยัง ปัญหาชนพลัดถิ่นอีกด้วย นางฟลอเรนซ์กรีน ทหารผ่านศึกใน สงครามโลกครัง้ที่หนึ่งคนสุดท้ายเสียชีวิต สงบด้วยวัย 110 ปี
  • 18. 2. ด้านการเมือง ประเทศมหาอานาจกลางอย่าง เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี บัลแกเรีย และตุรกีต้อง เสียดินแดน และอิทธิพลทางการค้า ถูกลดกาลังทหารและอาวุธ และต้องทาสนธิสัญญา สันติภาพที่ประเทศผู้ชนะร่างขึน้ 5 ฉบับ คือ  สนธิสัญญาแวร์ซายส์ทากับเยอรมนี ในสนธิสัญญากาหนดไว้ว่าจักรวรรดิเยอรมนีต้อง ยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่ เพียงผู้เดียว ทาให้เยอรมนีต้องเสียค่า ปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาลและเสียดินแดนหลายแห่ง เยอรมนีไม่สามารถใช้หนี้ สงครามได้และมองสนธิสัญญานีว้่าไม่เป็นธรรม จนฮิตเลอร์นามาประณามเมอื่เริ่มมี อานาจ หน้าต้นของสนธิสัญญาแวร์ซายฉบับ ภาษาอังกฤษ
  • 19.  สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมงทากับออสเตรีย  สนธิสัญญาเนยยี ทากับบัลแกเรีย  สนธิสัญญาตริอานองทากับฮังการี  สนธิสัญญาแซฟส์ทากับตุรกีต่อมาเกิดการปฏิวัติในตุรกีจึงมีการทาสนธิสัญญาใหม่ เรียกว่าสนธิสัญญาโลซานน์ ประเทศตา่งๆในยุโรปเกิดความเสียหายอย่างมาก เพราะสมรภูมิรบอยู่ในยุโรป ทาให้ เกิดมหาอานาจใหม่ อย่าง สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น
  • 20. 3. ด้านเศรษฐกิจ สงครามครัง้นีมี้คา่ใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการผลิตอาวุธใหม่ ๆ ที่มีอานาจ ทาลายล้างสูงกว่าการทาสงครามในอดีต เช่น รถถัง เรือดานา้ แก๊สพิษ ระเบิด เป็นต้น เพื่อหวังชัยชนะหลังสงครามสนิ้สุด ฝ่ายแพ้ต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม ตาม สนธิสัญญา ส่วนฝ่ายชนะก็ต้องรับผิดชอบเลยี้งดูผู้ประสบภัยและบูรณะประเทศ จน ทาให้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทวั่โลก
  • 21. เริ่มขึน้เมื่อวันที่ 3 เดือนกันยายน ค.ศ.1939 และสิน้สุดลงเมื่อวันที่ 2เดือน กันยายน ค.ศ.1945เป็นเวลายาวนานถึง 6 ปี ได้ชื่อว่าเป็นสงครามที่มีขนาดใหญ่ และทาให้เกิดความสูญเสียครัง้ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก
  • 22. 1. ลัทธิจักรวรรดินิยม หลังสงครามโลกครงั้ที่ 1 ประเทศมหาอา นาจยังคงมีการแข่งขันแสวงหาอาณานิคม นิคมโดยการรุกรานอยู่ เช่น ญี่ปุ่นยึดครองแมนจูเรีย ประเทศจีน เปลี่ยนชื่อเป็น แมนจูกัว
  • 23. เยอรมนีแม้จะเป็นฝ่ายแพ้ในสงครามโลกครัง้ ที่ 1 แต่ก็ยังสามารถผนวกออสเตรียเข้าสู่เยอรมนีได้ใน ปี 1938 ความจริงแล้วรัฐธรรมนูญของทัง้สองประเทศ ได้กาหนดให้ แคว้นออสเตรีย เป็นส่วนหนึ่งของ เยอรมนี แต่ว่าการกระทาดังกล่าวได้รับการขัดขวาง โดยสนธิสัญญาแวร์ซายส์เมื่อเวลาผ่านไป ชาว ออสเตรียจานวนมากก็ลืมเรื่องนีไ้ป พรรคนาซีแห่ง ออสเตรียจึงก่อรัฐประหาร และมอบอานาจให้พรรคนา ซีแห่งเยอรมนี ฮิตเลอร์ได้ออกคาสงั่ให้ทหารเยอรมัน เดินเข้าสู่พนื้ที่ ชาวออสเตรียไม่ได้ลุกขึน้มาตอ่ต้าน เหตุการณ์ในครัง้นีเ้ลย เนื่องจากพวกเขามีความ ต้องการเช่นนีอ้ยู่แล้ว และเยอรมนียังผนวกแคว้นชูเด เตนส์ของเชโกสโลวะเกียที่มีพลเมืองเป็นชาวเยอรมัน และยึดครองเชโกสโลวะเกีย ทาให้เยอรมันอยู่ในสภาพ พร้อมที่จะทาสงคราม
  • 24. 2. ลัทธิชาตินิยม ความไม่ยุติธรรมทางสนธิสัญญาแวร์ซาย์ทา ให้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ผู้นาของ เยอรมนีหันไปใช้ลัทธินาซีเพื่อสร้างประเทศให้ยงิ่ใหญ่ และเยอรมันยังเข้ากวาดล้าง ชาวยิวเพราะฮิตเลอร์เชื่อว่าชาวยิวเป็นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าของชนเผ่าอารยัน เช่นเดียวกับ เบนิโต มุสโสลินีผู้นาอิตาลี หันไปใช้ลัทธิฟาสซิสต์ส่วนญี่ปุ่น ต้องการ สร้างความยงิ่ใหญ่เพื่อเป็นผู้นาในเอเชีย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ผู้นาเยอรมัน ถ่ายรูปคู่กับสหายของเขา เบนนิโต มุสโสลินีจอมเผด็จการอิตาลี
  • 25. 1. เหตุผลทางด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ชาวยิว นั้นเป็นคนฉลาด จึงเป็นผู้กุมเศรษฐกิจของโลก เกือบทัง้หมด และเป็นผู้กุมเศรษฐกิจของเยอรมัน ในช่วงนั้น ฮิตเลอร์หัวหน้าพรรคนาซีก็มีความ หยงิ่ในชาติพันธ์ขุองตนเองอย่างสูงรวมทัง้ต้องการ จะสถาปนาอาณาจักรไรซ์ที่ 3ขึ้นมาใหม่ ฮิตเลอร์ ต้องการที่จะให้โลกมีแต่ชาติพันธ์ขุองตนเองก็คือ อารยัน เลยต้องกา จัดชาวยิวผู้กุมเศรษฐกิจของ เยอรมันให้ได้ก่อน
  • 26. 2. เหตุผลทางด้านเชื้อชาติ รากฐานของลัทธินาซีคิดว่าชนชาติผิวขาวเหนือกว่าคนอื่นในโลกนี้ซึ่งคนนาซี มักจะคิดและมองว่า คนผิวดา คนเอเชีย และชนชาติยิว จะมีร่างกายและสติปญัญาที่ ด้อยกว่าพวกคนผิวขาว 3. ฮิตเลอร์เกลียดยิวมาก เพราะยิวเป็นผู้มายึดครองเยอรมันในอดีต และขับไล่ชนชัน้อารยันออกจาก ประเทศเยอรมัน เพราะดินแดนนี้เป็นดินแดนศักดิส์ิทธิต์ามความเชื่อของชาวยิว โดยเมื่อยิวเข้ามายึดครองเยอรมันแล้ว ก็ได้มาแย่งที่ทา มาหากิน และแย่งอาหารของ ชาวเยอรมัน
  • 27. 4. ในช่วงหลังสงครามโลกครัง้ที่ 1 นั้น เยอรมันแพ้สงครามจึงต้องปฏิบัติตาม สนธิสัญญาแวร์ซายส์ซึ่งร่างขึ้นโดยกล่มุนายธนาคารยิวสากล และเป็นการเอารัดเอา เปรียบชาวเยอรมันเป็นอย่างมาก ชาวยิวตัง้ใจว่า สนธิสัญญานี้จะเป็นการบีบบังคับให้ เกิดสงครามโลกขึ้นอีกครัง้หนึ่ง เพราะรู้ว่า ในที่สุดคนเยอรมันก็จะสิ้นสุดความอดทน ลุกขึ้นต่อสู้ สงครามก็จะปะทุขึ้นอีกแน่นอน และแต่ละประเทศ จะต้องหาเงินกู้จากนาย ธนาคารยิวที่ทรงอิทธิพลการเงินอยู่ทัว่ยุโรปเพื่อจัดซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์ แหล่ง ทรัพยากรสา คัญของประเทศจะต้องนาออกมาใช้อย่างไม่มีทางเลี่ยง
  • 28. ศพชาวยิว
  • 29. พืน้ที่ที่เหล่าเหยื่อชาวยิว จะถูกส่งเข้าเพื่อเป็น ที่ตาย โดยการรมด้วยแก๊สพิษ บริเวณหลังคาของห้องรมแก๊สพิษ ที่เห็นเป็น ปล่องเหล็กมีฝาปิดคือ ช่องสาหรับหย่อนแก๊ส พิษลงไปภายในห้องเพื่อฆ่าชาวยิว
  • 30. คนยิวถูกบังคับให้อยู่อย่างเสีย ศักดิ์ศรีเช่นต้องทางาน บริการ ขัดพืน้ที่สาธารณะ
  • 31. การยิงเป้าลงหลุม
  • 32. คนตายจากก็าซพิษน่าสยดสยอง เน่อืงจากก๊าซ พิษจะค่อยๆลอยขึ้นข้างบน ผลคือ คนที่อยู่ในห้อง รมก็าซจะตะเกียดตะกายเหยียบกันเอง แล้วคนที่ อยู่บนสุดของกองศพในห้องรมก๊าซ ก็ตาย เหมือนเดิมอยู่ดี คนที่เคยอยู่ค่ายกักกันทุก คนจะถูกสักเลข เหมือนวัวเหมือนควาย ยิวทุกคนจะถูก เรียกด้วยแคห่มายเลขนีไ้ม่มีชื่อ ไม่มีค่า ความเป็นคน
  • 33. การติดเชือ้โรคผิวหนัง ซงึ่ในชีวิตจริง หายาก มากถ้าไม่อยู่ในสภาพที่สกปรกจริงๆ แว่นตาของ ผู้โชคร้ายที่ถูกรมแก๊ซ
  • 34. และแล้ววันหนึ่ง ไรซ์ที่ 3 ล่มสลาย ชาวยิวจึงเป็นอิสระ! นักโทษเชลยศึกชาวยิวยืนอยู่หลังรัว้ไฟฟ้า กาลังโห่ร้องเชียร์ ทหารอเมริกันที่เข้ามาช่วยเหลือปลดปล่อยให้เป็นอิสระ นักโทษช่วยกันประดับธงหลายเชือ้ชาติที่แอบทาขึน้มา
  • 35. ก่อนที่จะฝังศพเชลยศึกที่เสียชีวิต พลเมืองชาว เยอรมันจะโดนบังคับให้ดูร่างผู้เสียชีวิต จากฝีมือความโหดร้ายทารุณของเยอรมัน
  • 36. 3. ลัทธินิยมทางทหาร ในค.ศ.1933 หลังจากเยอรมันได้ยกเลิกสนธิสัญญาแวร์ซาย์ก็ได้เรมิ่ลงมือ เกณฑ์ทหารปรับปรุงกองทัพจนมีกองทัพอากาศที่แข็งแกร่ง และยังสร้างอาวธุใหม่ๆ สร้างป้อมปราการที่แม่น้าไรน์และยังมีผู้นาอีกหลายประเทศได้สร้างความเข้มแข็ง ทางทหารและสะสมอาวุธร้ายแรงต่าง ๆ ได้แก่ อิตาลี และญี่ปุ่น เพื่อขยายอา นาจ ทางการเมืองโดยใช้กา ลังเข้ายึดครองดินแดนต่าง ๆ และใช้กองทัพปกป้อง ผลประโยชน์ของชาติตน
  • 37. 4. มหาอานาจแบ่งเป็น 2 ฝ่าย  ฝ่ายอักษะ (Axis) ประกอบด้วย เยอรมัน อิตาลี และญี่ปุ่น ซึ่งดาเนินนโยบายรุกรานและขยายอานาจ Adolf Hitler Benito Mussolini Hideki Tojo
  • 38.  ส่วนฝ่ายพันธมิตร (Allies) ซึ่งเป็นฝ่ายประชาธิปไตยตะวันตก ประกอบได้ด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา สหภาพโซเวียต และจีน Franklin Delano Roosevelt (USA) Sir Winston Leonard Spencer-Churchill (UK) Charles de Gaulle
  • 39. ในตอนแรกฝรั่งเศสและอังกฤษใช้นโยบายผ่อนปรนกับเยอรมัน คือการยอมให้ เยอรมันผนวกออสเตรียและแคว้นซูเดเทน เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดสงคราม และตัวฮิตเลอร์ เองที่พยายามแสดงให้พันธมิตรเห็นว่า เขาไม่ใช่ภัยคุกคามต่อพันธมิตร และเป็นผู้ที่ ต้องการสันติภาพเช่นเดียวกับอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงแต่ต้องการฟื้นฟูประเทศเยอรมัน ที่ตกต่าเท่านัน้ ทาให้พันธมิตรนิ่งเฉยต่อการดาเนินการของฮิตเลอร์ แต่ในเดือนมีนาคม ค.ศ.1939 ฮิตเลอร์ได้ส่งกองทัพเข้ายึดเชโกสโลวะเกีย และ ต่อมาได้บุกโจมตีรุกรานดินแดนทางด้านตะวันตกของโปแลนด์อย่างรวดเร็ว ในวันที่ 1 กันยายน 1939 ถือเป็นการเริ่มสงครามโลกครัง้ที่ 2 เพราะอังกฤษและฝรั่งเศสได้ให้คามนั่ สัญญาว่าจะให้ความช่วยเหลือแก่โปแลนด์หากถูกเยอรมนีรุกราน
  • 40. 5. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ หลังจากสนิ้สุดสงครามโลกครัง้ที่ 1 ประธานาธิบดีวูดโรว์วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา ได้เสนอให้ก่อตัง้องค์การสันนิบาตชาติขึน้ เพื่อเป็นองค์การกลางที่จะใช้แก้ปัญหากรณี พิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธีได้มีการประชุมครัง้แรก ณนครเจนิวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ องค์การสันนิบาตชาติ ( League of Nations )
  • 41. 1) สมาชิกภาพ ประเทศที่เป็นฝ่ายชนะในสงครามโลกครัง้ที่ 1 ทุกประเทศได้ร่วมลงนามใน สนธิสัญญาสันติภาพ เป็นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติโดยอัตโนมัติ ประเทศที่แพ้ สงครามมีสิทธิ์เข้าเป็นสมาชิกขององค์การได้ ส่วนสหรัฐอเมริกาแม้จะเป็นผู้ริเริ่มองค์การ นี้ก็ไม่ได้เป็นสมาชิก เนื่องจากสภาคองเกรสของสหรัฐอเมริกาไมย่อมให้สัตยาบัน ซงึ่มี นโยบายไม่ยุ่งเกี่ยวและแทรกแซงทางการเมืองของประเทศทางยุโรป 2) วัตถุประสงค์ - รักษาความปลอดภัยและความมนั่คงระหว่างประเทศ - เป็นองค์กรกลางในการตัดสินชีข้าดกรณีพิพาท - ดาเนินการลดกาลังอาวุธยุทโธปกรณ์ - ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อเปิดความสัมพันธ์ทางการทูต
  • 42. จุดอ่อนขององค์การสันนิบาตชาติ  องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถหยุดยัง้การรุกรานของประเทศมหาอานาจได้ เช่น - เหตุการณ์ญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรียของจีน องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถใช้มาตรการ ใดๆ ลงโทษญี่ปุ่นได้ - เหตุการณ์รุนแรงที่เกาะคอร์ฟู อิตาลีใช้กาลังเข้ายึดครองเกาะคอร์ฟูของกรีซ ซึ่งองค์การ สันนิบาตชาติไม่สามารถยับยัง้หรือลงโทษอิตาลีได้ ทัง้ๆที่กรีซและอิตาลีตา่งก็เป็นสมาชิก ขององค์การ - เยอรมนีละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย โดยการส่งทหารเข้าสู่เขตปลอดทหารไรน์แลนด์ของ เยอรมนี - สงครามอะบิสซิเนียที่อิตาลีส่งกองทัพบุกอะบิสซิเนีย (เอธิโอเปีย) โดยไม่ประกาศ สงคราม และสามารถยึดกรุงแอดดิสอาบาบาได้ ซึ่งสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติได้ ลงมติประณามอิตาลีว่าเป็นฝ่ายรุกราน และลงโทษอิตาลีโดยการงดติดต่อค้าขายกับ อิตาลี แต่ไม่ได้ผลเพราะอิตาลีได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี อีกทัง้อิตาลียังตอบโต้ด้วย การลาออกจากการเป็นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติอีกด้วย
  • 43.  สถานการณ์ของสงคราม 1.วิกฤตการณ์ก่อนเกิดสงครามโลก เมื่อเยอรมันได้ฝ่าฝืนสนธิสัญญาแวร์ซาย เเละเริ่มรุกรานประเทศต่างๆร่วมกับ อิตาลีโดยไม่มีผู้ใดขัดขวาง ทาให้อังกฤษเเละฝรั่งเศสได้ตะหนักว่าเยอรมันต้องการทา สงคราม 2.กองทัพเยอรมันบุกโปแลนด์ทาให้เกิดสงครามโลก เยอรมันบุกโปแลนด์วันที่ 1 กันยายน ค.ศ.1939 เพราะต้องการฉนวนดานซิกคืน (ฉนวนดานซิก คือส่วนที่แบ่งเยอรมันออกเป็น 2 ส่วนเพื่อเจาะให้เป็นทางออกสู่ทะเล สาหรับโปแลนด์)
  • 44. ทางอังกฤษและฝรั่งเศสที่เคยให้สัญญากับโปแลนด์ว่าจะช่วยถ้าถูกเยอรมันรุกราน ได้ขอให้เยอรมันถอนกาลังทหารออกไป แต่เยอรมันก็ไม่ยอม อังกฤษและฝรั่งเศสจึง ประกาศสงครามกับเยอรมนี สงครามโลกครัง้ที่ 2 จึงเกิดขึน้
  • 45. 3.สงครามในทวีปยุโรป ในขณะที่เยอรมันบุกโปแลนด์ไปถึงกรุงวอร์ซอ สหภาพโซเวียตก็ได้บุกเข้าไปใน โปแลนด์ฝั่งตะวันออก ทาให้โปแลนด์ต้องยอมแพ้ในวันที่ 27 กันยายน ค.ศ.1939 และถูก แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
  • 46. เยอรมันก็ทาสงครามต่ออีก โดยยึดครองเดนมาร์ก นอร์เวย์เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส สามารถยึดปารีสได้ในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ.1940 โดยเยอรมัน ส่งกองทัพทาการอ้อมผ่าน แล้วจึงเข้าตีจากด้านข้างและด้านหลัง แล้วเข้าจู่โจมตรงที่ Maginot Line(ป้อมมายิโน่) เมื่อยึดป้อมมายิโน่เสร็จก็ทาการเปลี่ยนทิศของปืนใหญ่ซึ่ง ปรกติเคยตัง้ปากกระบอกไปที่ฝั่งเยอรมัน ให้หันไปยิงทางฝั่งฝรั่งเศสแทน ฝรั่งเศสจึงต้อง ยอมปล่อยปารีสให้เป็นเมืองเปิดจนทัพเยอรมันสามารถเข้ามายึดครองได้
  • 47. 4.สงครามระหว่างเยอรมนีกับอังกฤษ เยอรมนีเริ่มบุกหมู่เกาะอังกฤษในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1940 โดยใช้เครื่องบินจากเยอรมนี บินข้ามทะเลเหนือทิง้ระเบิดโจมตีอังกฤษอย่างดุเดือด จนถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1941 แตก่็ไม่ สามารถที่จะยึดหมู่เกาะอังกฤษได้ เยอรมนีภายใต้การนาของฮิตเลอร์จาต้องหยุดปฏิบัติการ โจมตีอังกฤษชวั่คราว สาเหตุที่อังกฤษยังคงยืนหยัดอยู่ได้เพราะนายกรัฐมนตรีวนิสตัน เชอร์ชิ ลได้กล่าวกับประชาชนชาวอังกฤษ เสริมสร้างขวัญและกาลังใจคนอังกฤษให้ยืนหยัดต่อสู้ไม่ หวาดกลัวท้อแท้การก้าวร้าวโจมตีใดๆ ของเยอรมนีและให้ความหวังว่าชัยชนะจะต้องมีขึน้ใน อนาคตอย่างแน่นอน กองกาลังทัง้ทางเรือและอากาศของอังกฤษปฏิบัติอย่างเต็มกาลัง ความสามารถ วิหารเซนต์พอล ในกรุงลอนดอน ขณะถูกฝูงบินเยอรมันทิง้ระเบิดใส่ กรุงลอนดอน
  • 48. 5.สงครามในคาบสมุทรบอลข่าน เนื่องจากในสงครามโลกครัง้ที่ 1 อังกฤษได้รับตาแน่งมหาอานาจทางทะเล เยอรมันจึงต้องการตัดเส้นทางทางลงทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของอังกฤษ โดยเอาฮังการี และโรมาเนียมาเป็นพันธมิตร และยึดครองประเทศกรีซได้โดยมีกองทัพอิตาลีมาสมทบ
  • 49. 6.สงครามระหว่างเยอรมนีกับสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.1941 กองทหารเยอรมันเข้ายึดโปแลนด์ส่วนมี่สหภาพ โซเวียตครองอยู่ และยังบุกเข้ายูเครน และรัสเซียภาคใต้ แต่ไม่สามารถไปเมืองเลนินก ราดและกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เพราะกองทัพโซเวียตสามารถต้านทานไว้ได้
  • 50. 7.สงครามในทวีปแอฟริกา เป็นการรบระหว่างอังกฤษกับอิตาลี เยอรมันได้ส่งทหารมาช่วยอิตาลี ส่วนอังกฤษ ก็มีกองทัพพันธมิตรจากสหรัฐอเมริิกา อังกฤษ และฝรั่งเศส มาช่วยเช่นกัน ทาให้กองทัย เยอรมันต้องยอมแพ้ที่ตูนิเซีย ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1943
  • 51. 8.พันธมิตรยกพลขึน้บกที่อิตาลี  เมื่อได้รับชัยชนะที่ตูนีเซีย กองทัพพันธมิตรก็สามารถ ขึน้อิตาลี และทาการยึดเกาะซิซิลี  พันธมิตรบังคับให้มุสโสลินีลาออก แต่มุสโสลีนี ต้องการจัดตัง้รัฐบาลขึน้เองอีก โดยได้รับแรงสนับสนุน จากฮิตเลอร์จึงถูกชาวอิตาลีจับประหารชีวิต และถูก มวลประชาชนจับแขวนคอห้อยศรีษะลงดินเมื่อวันที่ 28 เมษายน ค.ศ.1945  กองทัพฝ่ายพันธมิตรเข้ายึดครองเมืองมิลาน ตูริน และ แคว้นตริเอสเต และเป็นจุดสนิ้สุดสงครามในประเทศ อิตาลี
  • 52. 9.กองทัพพันธมิตรบุกยุโรปตะวันตก ในวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ.1944 ซึ่งเป็นวัน D-Dayกองทัพพันธมิตรบุกมาทางตะวันตกของ ฝรั่งเศส บริเวณหาดนอร์มังดี และมาบรรจบกับกองทัพสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 26 เมษายน ที่ กรุงเบอร์ลิน ฮิตเลอร์และภรรยาได้ฆ่าตัวตายในหลุมหลบภัย พวกพ้องก็เอาศพไปเผาจนไม่มี อะไรเหลือ ดร.เกิบเบลส์คนสนิทของฮิตเลอร์ที่ทาหน้าที่เป็นปากเสียงให้พรรคนาซีตลอดมา ก็ ฆ่าบุตรภรรยาแล้วฆ่าตัวตายตาม ส่วนคนสาคัญในพรรคนาซีอีกหลายคนได้ถูกฝ่าย สัมพันธมิตรจับตัว และนาขนึ้ศาลอาชญากรสงคราม ทุกคนตา่งก็ให้การวา่ถูกบังคับให้ต้องฆ่า คนเป็นล้าน ๆ ด้วยต้องปฏิบัติตามคาสงั่ของผู้บังคับบัญชา ในวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ.1945 เยอรมนีจึงต้องยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข
  • 53.  10.สงครามด้านแอเชีย-แปซิฟิก หลังจาก อดอฟ ฮิตเลอร์ ก็ยิงตัวตาย ฝ่ายกองทัพเยอรมันในประเทศต่างๆ เริ่มยอมแพ้ จึงได้มีการเจรจาสันติภาพกับ ญี่ปุ่นให้ยอมจานน แตญี่่ปุ่นไม่ยอมรับ ญี่ปุ่นต้องการขยายอาณา เขต โดยได้เข้าโจมตีจีน และยึดอินโดจีนของฝรั่งเศส เมื่อคราวฝรั่งเศสประกาศยอมแพ้ต่ออิตาลี จนเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ญี่ปุ่นได้เริ่มสงครามโดยการทาลายอ่าวเพิร์ล รัฐฮาวาย (Hawaii) ซงึ่เป็นฐานทัพเรือของอเมริกา สหรัฐอเมริกา จึงตัดสินใจ ทิง้ระเบิดปรมาณูทัง้สองลูกที่ ใส่ประเทศญี่ปุ่นที่เมืองฮิโรชิมา และ เมืองนางาซากิ ระเบิดนิวเคลียร์ Little Boy ที่เมืองฮิโรชิมา ญี่ปุ่น วันที่ 6 สิงหาคม 1945 ระเบิดนิวเคลียร์ FAT MAN ที่เมืองนางาซากิ ญี่ปุ่น วันที่ 9 สิงหาคม 1945
  • 54. ญี่ปุ่นจึงประกาศยอมแพ้แบบ ไม่มีเงื่อนไข หลังจากนัน้ในวันที่ 2 กันยายนค.ศ. 1945 ญี่ปุ่นได้เซ็นสัญญายอมจานนอย่างเป็น ทางการ ในวันนีจึ้งถือได้ว่าเป็นจุดจบของ สงครามโลกครัง้นีอ้ย่างแท้จริง
  • 55. ผลของสงคราม 1) ด้านสังคม สงครามโลกครัง้ที่ 2 ทาให้มีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 68 ล้านคน นอกจากนียั้งมีผู้ประสบเคราะห์กรรมจากภัยสงครามอื่น ๆ อีกเป็นจานวนมาก เช่น บาดเจ็บ ทุพพลภาพ เป็นโรคจิต โรคระบาด ขาดอาหาร หายสาบสูญ 2) ด้านการเมือง ประเทศที่แพ้สงครามต้องเสียค่าปฏิกรรมสงคราม เสียดินแดน และ ต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญาของฝ่ายที่ชนะ  อิตาลี ต้องเสียอาณานิคมและดินแดนบางส่วนให้ยูโกสลาเวีย แอลบาเนีย กรีซ ฝรั่งเศส บางส่วนต้องยกให้สหประชาชาติดูแลต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม 360 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และถูกจากัดกาลังทหาร
  • 56.  เยอรมนี พันธมิตรได้จัดการกับเยอรมนีในฐานะเป็นตัวการสาคัญที่ก่อให้เกิด สงครามดังนี้ 1. เยอรมนีต้องถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ให้อยู่ในความดูแลของสหภาพโซเวียต อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส ประเทศละส่วน 2. นครเบอร์ลิน ซงึ่เป็นเมืองหลวงของเยอรมนีมาตัง้แต่ ค.ศ. 1871 เป็นเขตยึด ครองของ 4 มหาอานาจข้างต้น โดยแบ่งเป็นส่วน ๆ เช่นเดียวกัน 3. ห้ามเยอรมนีผลิตอาวุธสงคราม 4. การผลิตโลหะ เคมี และเครื่องจักรกลที่อาจใช้ในสงครามได้ต้องอยู่ในความ ควบคุมดูแลของมหาอานาจทัง้ 4 5. ระบบนาซีทุกรูปแบบต้องยกเลิก
  • 57.  ญี่ปุ่น ซงึ่เป็นผู้ก่อและขยายสงครามในทวีปเอเชียนัน้ ฝ่ายพันธมิตรมอบอานาจให้ สหรัฐอเมริกาจัดดาเนินการโดยลาพัง ดังนัน้สหรัฐอเมริกาจึงได้ยึดครองญี่ปุ่นโดยมีนาย พลดักลาส แมกอาเทอร์(Douglas McArthur) เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด และให้ญี่ปุ่น ปฏิบัติตามสนธิสัญญาโดยเคร่งครัด เช่นห้ามการมีกองทัพทหารและนโยบายการเมือง ระหว่างประเทศ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นต้องยอมรับ รัฐธรรมนูญที่สหรัฐอเมริการ่างให้ด้วย Douglas McArthur
  • 58. 3) ด้านเศรษฐกิจ ในสงครามโลกครัง้ที่ 2 ประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศผู้ริเริ่มสงคราม และประเทศมหาอานาจ ต้องเสียค่าใช้จ่ายไปเป็นจานวนมากเพื่อการฝึก การบารุงขวัญ ทหาร และเพื่อการผลิตอาวุธที่มีศักยภาพสูงและทันสมัย มีอาวุธบางชนิดที่ไม่เคยใช้ที่ใด มาก่อน เช่น เรดาร์ตรวจจับ เรือดานา้ เรือบรรทุกเครื่องบิน จรวด เครื่องบินชนิดตา่ง ๆ ระเบิดปรมาณู เป็นต้น
  • 59. นอกจากนียั้งต้องเสยีค่าใช้จา่ยไปกับสิ่งก่อสร้างและเมืองตา่งๆที่ได้รับความเสียหาย
  • 60.  สงครามเย็นเป็นเหตุการณ์ที่เกิดหลังยุคสงครามโลกครัง้ที่ 2 ในช่วง ค.ศ. 1945- 1991  สงครามเยน็เป็นการขัดแย้งกันระหว่างกลุ่มประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซ เวียต มหาอานาจผู้นากลุ่มประเทศทัง้สองฝ่าย แข่งขันกันเพื่อเป็นผู้นาโลก ทัง้ด้าน การเมือง เศรษฐกิจ และโฆษณาชวนเชื่อ โดยไม่ใช้กาลังทหารและอาวุธมาสู้กัน
  • 61. จากสงครามโลกครัง้ที่ 2 ได้ทาลายสถานะทางอานาจของ มหาอานาจเดิม คือเยอรมนีและญี่ปุ่น ส่วนอังกฤษกับฝรั่งเศสที่เป็น ชาติที่ชนะสงครามแต่ก็ได้รับความบอบชา้จากสงครามอย่างหนัก ทา ให้ชาติมหาอานาจเป็นอเมริกากับสหภาพโซเวียต
  • 62. อุดมการณ์ทางการเมืองที่ต่างกัน  จากที่ผ่านมาในสงครามโลกครัง้ที่ 2 สหรัฐอเมริกาเสียหายน้อยกว่าประเทศคู่สงครามใน ยุโรป ทัง้ยังเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีสูง สหรัฐอเมริกา จึงก้าวมาเป็นมหาอานาจในสงครามเย็น โดยสหรัฐอเมริกายึดหลักลัทธิเสรีประชาธิปไตย เป็นอุดมการณ์ทางการเมือง โดยให้ความสาคัญกับการเมืองแบบเสรีนิยม  ส่วนสหภาพโซเวียตฟื้นตัวจากสงครามโลกครัง้ที่ 2 อย่างรวดเร็ว เพราะพนื้ที่กว้างใหญ่ มี ทรัพยากรธรรมชาติมาก สหภาพโซเวียตต้องการเป็นผู้นาในการปฏิวัติโลกเพื่อสถาปนา ระบบสังคมนิยม คอมมิวนิสต์ตามแนวคิดของมาร์กซิสต์  ดังนัน้ ทัง้สองมหาอานาจจึงให้ความช่วยเหลอืกับประเทศต่างๆ เพื่อขยายอิทธิพล อานาจ และอุดมการณ์ เพื่อให้ประเทศที่มีอุดมการณ์เหมือนกับตนมาเป็นเครื่องถ่วงดุล อานาจกับฝ่าย ตรงข้าม
  • 63. ความขัดแย้งของผู้นาของชาติมหาอานาจ  ผู้นาของสหภาพโซเวียดในขณะนัน้ คือ โจเซฟ สตาลิน ซึงเป็นผู้นาเผด็จการ ไม่ไว้วางใจ ประเทศตะวันตก เห็นว่าประเทศตะวันตกต้องการทาลายคอมมิวนิสต์ โจเซฟ สตาลิน
  • 64.  ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา สมัย สงครามโลกครัง้ที่ 2 คือ เฮนรี ทรูแมน ได้ ตระหนักถึงการคุกคามของคอมมิวนิสต์ใน บริเวณ ยุโรปตะวันออก จึงได้ประกาศหลักทรู แมน ซึ่งให้ความช่วยเหลือกรีซ และตุรกีใน กรณีที่ถูกคุกคามจากคอมมิวนิสต์ แสดง เจตนารมณ์สกัดกัน้อิทธิพลของสหภาพโซเวีย ตนอกเขตยุโรปตะวันออก  ต่อมาสหรัฐอเมริกาได้ประกาศแผน มาร์แชล เสนอให้เงินช่วยเหลือฟื้นฟูประเทศต่างๆ ใน ทวีปยุโรปที่ประสบภัยจากสงครามโลกครัง้ที่ 2 โดยจะให้กับประเทศยุโรปตะวันออกด้วย เฮนรี ทรูแมน
  • 65.  สงครามเย็นเป็นสงครามที่ไม่มีการปะทะกัน แต่เป็นการแข่งขันกันด้านการสร้าง พัฒนา และสะสมอาวุธนิวเคลียร์ การสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางทหาร การแข่งขันและกีดกัน ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การโฆษณาชวนเชื่อ การสนับสนุนให้กลุ่มประเทศ พันธมิตรทา สงครามตัวแทน ( proxy war ) การแข่งขันการสารวจอวกาศ เริ่มจากการที่ สหภาพโซเวียตสามารถส่งดาวเทียมดวงแรกออกไปในอวกาศได้
  • 66.  ดาวเทียมดวงแรกที่ส่งไปโคจรอวกาศสาเร็จ คือ Sputnik ของสหภาพโซเวียด ในปี พ.ศ.2500 ทาให้ จอห์น เอฟ เคเนดี้ซึ่งเป็นประธานาธิบดีของอเมริกา กล่าวว่า “อเมริกา จะส่งมนุษย์ ไปลงดวงจันทร์ให้ได้ภายใน 10 ปี” ดาวเทียม sputnik ต่อมาไม่นานอเมริกาก็ส่งดาวเทียมขึน้ไปใน อวกาศได้สาเร็จ แล้วก็สามารถส่งมนุษย์คน แรกไปดวงจันทร์ได้ คือ นิลอาร์มสตรอง
  • 67. กรณีปัญหาเรื่องประเทศเยอรมนี  หลังสงคราม เยอรมันถูก 4 มหาอานาจแบ่งยึดครอง คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา และโซ เวียต  เยอรมันฝั่งตะวันออกปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์ โดย สหภาพโซเวียด  เยอรมันฝั่งตะวันตกเป็นประชาธิปไตย ปกครองโดย อังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา  เพราะเยอรมันตะวันตกปกครองแบบเสรีนิยม พัฒนาเศรษฐกิจจนกลายเป็นประเทศที่มงั่ คงั่ ทาให้ประชาชนฝั่งตะวันออกอพยพย้ายไปอยู่เยอรมันตะวันตก สหภาพโซเวยีตจึง สร้างกาแพงเบอร์ลินขึน้มาปิดล้อมไมใ่ห้อพยพหนี กาแพงเบอร์ลินจึงเป็นสัญลักษณ์ของ ความขัดแย้งทางด้านการเมืองในยุคสงครามเย็น
  • 68. กาแพงเบอร์ลิน
  • 69.  จากความขัดแย้งทางการเมืองทาให้สหรัฐอเมริกาสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้านการเมือง การทหารแก่กลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก ได้จัดตัง้องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือ นาโต ขึน้เพื่อต่อต้านอิทธิพลของสหภาพโซเวียต  ส่วนสหภาพโซเวียตก็จาเป็นต้องมีกองทหารไว้ควบคุมเขตอิทธิพลของตน จึงมีการจัดตัง้ ระบบพันธมิตรทางทหารของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกก่อให้เกิด สนธิสัญญาวอร์ซอ ขึน้
  • 70.  ในช่วงสงครามเย็นประเทศต่างๆในยุโรปถูกแบ่งเป็น 2 ฝ่ายอย่างชัดเจน คือ  ภูมิภาคยุโรปฝั่งตะวันออกได้กลายเป็นประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ภายใต้การควบคุม ของสหภาพโซเวียต  ภูมิภาคยุโรปตะวันตกเป็นประเทศเสรีนิยม ฝั่งประเทศยุโรปตะวันตกพยายามแทรกซึม เข้าไปในฝั่งประเทศยุโรปตะวันออก โดยการเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับความเจริญรุ่งเรือง และเสรีภาพของประชาชน ทาให้เกิดการต่อสู้เพื่อเสรีภาพขึน้ในยุโรปตะวันออก เช่น โปแลนด์ ฮังการี่ และเชคโกสโลวาเกีย
  • 71. สงครามเกาหลี  เดิมญี่ปุ่นเป็นผู้ครองคาบสมุทรเกาหลี แต่หลังจากแพ้สงครามโลก เกาหลีถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน 1. เกาหลีเหนือ ปกครองโดยสหภาพโซเวียต 2. เกาหลีใต้ ปกครองโดย สหรัฐอเมริกา
  • 72.  ในวันที 25 มิ.ย.1950 เกาหลีเหนือภายใต้การสนับสนุนของโซเวียตและจีน บุกข้ามเส้น ขนานที่ 38 ลงมายังเกาหลีใต้  สหรัฐอเมริกาภายใต้การนาของประธานาธิบดี ทรูแมน จึงได้สงั่การให้นายพล ดักลาส แมกอาร์เธอร์ผู้บัญชาการสงคราม ให้ทาการขับไล่เกาหลีเหนือออกไป  กองกาลังสหรัฐได้ขับไล่เกาหลีเหนือออกไปและเข้าไปยึดพืน้ที่เกาหลเีหนือได้ถึงบริเวณ แม่นา้ยาลู  จีนจึงประกาศเตือนให้สหรัฐถอนกาลังออก แต่นายพล ดักลาส แมกอาร์เธอร์ไม่ปฎิบัติ ตาม จีนจึงส่งกองทัพบุกกลับมาถึงในเกาหลีใต้ ภายหลังถูกกองทัพสหรัฐและพันธมิตร ตอบโต้ จึงถอยกลับไป  นายพล ดักลาส แมกอาร์เธอร์จึงถูกสงั่ย้าย ให้นายพล แมทธิว ริดจ์เวย์เป็นแทน
  • 73. สงครามเวียดนาม  เมื่อจบ ww2 ฝรั่งเศสพยายามเข้ามาปกครองเวียดนาม จึงเกิดขบวนการ คอมมิวนิสต์เวียดมินห์ภายใต้การนาของ โฮ จิ มินห์มีการสนับสนุนจากประเทศ ชาตินิยมทางตอนเหนือของเวียดนาม เพื่อต่อต้านฝรั่งเศส ทาให้กองทหารฝรั่งเศส พ่ายแพ้ไป  ชาติหมาอานาจอื่นๆ ได้แก่ อังกฤษ อเมริกา จีน และสหภาพโซเวียต รวมทัง้ชาติ ต่างๆในเอเชีย ได้จัดให้มีการเจรจาสงบศึกกันที่ นครเจนีวา
  • 74.  ผลของการเจรจา เวียดนามถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน 1. เวียดนามเหนือ ภายใต้การปกครองของ โฮจีมินห์ 2. เวียดนามใต้ ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิ บ๋าวได่ภายใต้การสนับสนุนของ สหรัฐอเมริกา
  • 75.  ในเวียดนามใต้มีการเคลื่อนไหวของแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติ หรือ เวียดกง  ในสมัย โง ดินห์เสี่ยม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ปราบปรามพวกเวียดกงโดยการสนับสนุน ของสหรัฐอเมริกาเกิดการสู้รบกันภายใน ต่อมา โง ดินห์เสี่ยมถูกโค่นอานาจ  สหรัฐได้ส่งอาวุธและทหารมาช่วยเวียดนามใต้ และทิง้ระเบิดโจมตีเวียดนามเหนือใน ฐานะผู้สนับสนุนเวียดกง แต่เวียดกงใช้วิธีการรบแบบกองโจร ทาให้สหรัฐไม่สามารถ เอาชนะเวียดนามเหนือและเวียดกงได้  สหรัฐอเมริกาจึงเริ่มถอนกาลังทหารออกจากเวียดนาม ทาให้เวียดกงได้เข้าแทรก ซึม เวียดนามใต้และยึดบางส่วน
  • 76.  สงครามเวียดนามเริ่มขยายตัวเข้าสู่ลาวและ กัมพูชาและกองกาลังคอมมิวนิสต์ในลาว และกัมพูชาก็ได้รับการสนับสนุนจากโซเวียต และจีน  ทาให้เกิดสงครามในลาวและกัมพูชา ระหว่าง กลุ่มคอมมิวนิสต์ซงึ่ได้รับการ สนับสนุนจากเวียดนามเหนือและโซเวียต และ กลุ่มนิยมตะวันตกที่ได้รับการสนับสนุน จากสหรัฐอเมริกา  พวกคอมมิวนิสต์เข้ายึดไซง่อนได้ ในวันที่ 30 เมษ. 1975 เป็นการสนิ้สุดสงครามเวียดนาม
  • 77. วิกฤตการณ์คิวบา  คิวบาเป็นประเทศเล็กๆที่อยู่ในทะเลแคริบเบียน  ผู้นาคิวบาคือ บาติสตา (ประธานาธิบดี) ซงึ่บาติส ตาผูกความสัมพันธ์กับอเมริกา  ต่อมาบาติสตาถูกนาย ฟีเดล คัสโตร ปฏิวัติยึด อานาจเปลี่ยนคิวบาให้กลายเป็นคอมมิวนิสต์ ผูกพัน กับโซเวียดแทนอเมริกา  ฝ่ายสหรัฐอเมริกาก็พยามโค่นล้มอานาจของ ฟิเดล คัสโตร โดยการส่งกองกาลังคิวบาที่ลภีั้ยอยู่ในสหรัฐ เข้าโจมตีประเทศคิวบา โดยยกคนขึน้บกที่ อ่าวพิกซ์ แต่รัฐบาลคิวบาปราบลงได้
  • 78.  ในเดือน ตุลาคม 1962 อเมริกาพบว่ารัสเซียได้นาฐานขีปนาวุธนิวเคลียร์มาติดตัง้บนเกาะ คิวบา ซึ่งสามารถยิงจรวดออกจากฐานไปโจมตีสหรัฐอเมริกาได้  จอห์น เอฟ เคเนดี้ประธานาธิบดีของอเมริกาสงั่ให้คิวบาถอนฐานขีปนาวุธนิวเคลียร์ออก ภายใน 30 วัน  คิวบาไม่ปฏิบัติตามและยังติดตัง้ฐานเพิ่มอีก สร้างความไม่พอใจให้กับอเมริกามาก  อเมริกาจึงสงั่กองเรือรบ 180 ลาปิดทะเลแคริบเบียน และแจ้งเตือนสหภาพโซเวยีดว่า สหรัฐเตรียมพร้อมจะตอบโต้ด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ให้คิวบาถอนฐานขีปนาวุธภายใน 24 ชวั่โมง  ผู้นาของสหภาพโซเวียดขณะนัน้คือ นีกีตา ครุชชอฟ จึงยอมปฏิบัติตามคาสงั่ของอเมริกา สงครามระหวา่งอเมริกา รัสเซียและคิวบา จึงไม่เกิดขึน้
  • 79. จอห์น เอฟ เคเนดี้ ฟิเดล คัสโตร (ซ้าย) นีกีตา ครุชชอฟ (ขวา)
  • 80.  สหภาพโซเวียตในยุคที่ มคิาอิล กอร์บาชอฟ เป็นผู้นาได้ดาเนินการปฎริูปบ้านเมืองหลาย ด้าน และเป็นจุดเริ่มต้นทาให้สภาวะสงครามเย็นเริ่มคลี่คลายตัวลง  มีการใช้นโยบายปฏิรูปการเมืองและเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียตให้เป็นเสรี ประชาธิปไตยมากขึน้ เรียกว่า “นโยบายเปิด-ปรับ” หรือ กลาสนอสต์-เปเรสตรอยกา โรนัลด์เรแกน (อเมริกา) มิคาอิล กอร์บาชอฟ (โซเวียต)
  • 81.  ได้มีการทาลายกาแพงเบอร์ลิน รวมเยอรมนี ตะวันออกเข้ากับตะวันตกเป็นประเทศ เดียวกัน  การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1991 ทาให้เกิดรัฐเอกราช 15 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน ลัตเวีย เอสโตเนีย ลิทัวเนีย เบลารุส มอลโดวา อุซเบกิสสถาน อาร์เมเนีย ทาจิกิสถาน เติร์กเมนิสสถาน คาซัคสถาน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน และ คีร์กีซสถาน  สาเหตุของการล้มสลายของสหภาพโซเวียต คือ ปัญหาเงินเฟ้อและความตกต่าทาง เศรษฐกิจ และปัญหาการเมืองภายใน
  • 82. นับตัง้แต่ปี ค.ศ. 1991 เป็นต้นมา บรรยากาศความตึงเครียดของโลกในยุคสงคราม เย็น ได้สนิ้สุดลง มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สา คัญคือ ประเทศคอมมิวนิสต์เริ่ม ปรับตัวเข้าสู่วิถีทางของระบอบประชาธิปไตยมากขึน้ และเปลี่ยนมาใช้ระบบเศรษฐกิจ แบบการตลาดหรือทุนนิยมเสรีตามอย่างโลกตะวันตก
  • 83.  ปุณยวีร์ กังวานสายชล 6.5 เลขที่ 21  พิชญา เมืองเชียงหวาน 6.5 เลขที่ 25

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น